Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Necrotizing Enterocolitic C Anamia :silhouette: image - Coggle Diagram
Necrotizing Enterocolitic C Anamia :silhouette:
ข้อมูลทั่วไป :star:
ชือผู้ป่วย เด็กชาย ภาคิน คานงาม เพศชาย อายุ 3 เดือน 5 วัน
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 24 มีนาคม 2564
วันที่เริ่มศึกษา 30 มีนาคม 2564
DX:Necrotizing Enterocolitic C Anamia
ความหมาย ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ ร่วมกับภาวะซีด
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล:ภ่ายเป็นเลือดสด มีไข้ 7 ซม. ก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน : 2 วันก่อน ไปฉีดวัคซีน DTP HB Hib1 มีไข้ต่ำๆ มีเสมะ ไอแห้งๆ ไม่มีร้องกวน ไม่มีถายเหลว ไม่ซึม ทานได้ปกติ
7 ชม. ก่อนมา ถ่ายเป็นเลือดสดเต็มแพมเพิส 1 ครั้ง มีอาเจียนเป็นนม 1 ครั้ง ไม่มีเขียว เลือด สีน้ำตาลปน ไม่มีร้องกวนผิดปกติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต: มารดาปฏิเสธการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์ของมารดาและมารดาคลอด: มารดาอายุ 32ปี
G1P0A0L0 GA 29 Wks C/S BW 1720 g
มารดาครรภ์แรกไม่เคยแท้งบุตร อายุครรภ์ 29 สัปดาห์ คลอดก่อนกำหนด ผ่าตัดคลอดบุตร น้ำหนักแรกคลอด 1720 กรัม
ประวัติการมใช้สารเสพติด: มารดาปฏิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
ประวัติการได้รับนมและอาหารเสริม: ดื่มนม Hi-Q ครั้งละ 20 ml ทุก 3ชั่วโมง
ประวัติการได้รับภูมิคุ้มกันโรค :check:
แรกเกิด : HBV,BCG
2 เดือน : DTP HB Hib1 OPV1 Roto2
-
ผลทางห้องปฏิบัตการ :!!:
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ (24/3/64)
Hb (11-10 g/dl) 8.3 : มีภาวะซีดจากโรคโลหิตจาง
Hct (31-43%) 25% : มีภาวะซีดจากโรคโลหิตจาง
RBC (4.50-5.50X10.6 mm3) 3.24X10.6 mm3 : เม็ดเลือดแดงมีปริมาณน้อย ภาวะโลหิตจาง
WBC (5000-10000cells/mm3 ) 13600 : พบร่างกายเกิดการติดเชื้อโรค
Neutrophil (40-70%) 32% : พบอาจกำลังติดเชื้อแบททีเรีย
Lymphocyte (20-50%) 52% : อาจเกิดการติดเชื้อไวรัส
Monocyte (2-6%) 14% : อาจเกิดลำไส้อักเสบ
MCV (80.0-98.0 fL) 76.3 fL :อาจเกิดโรคโลหิตจาง
MCH (27.0-31.0pg) 25.0pg : อาจเกิดโรคโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงขนาดเล็ก
แผนการรักษา :pencil2:
วันที่ 30/3/64
NEC stage II C NPO
Anemia
S: ตื่นดี ไม่มีไข้ รับ feed ได้ หมดทุกมื้อ ไม่มีอาเจียน ไม่แหวะนม ดูดนมได้ ถ่ายตอน 2 ทุ่ม สีเขียวเข้ม ปริมาณเต็มแพมเพิส ไม่มีเลือดปน ปัสสาวะเหลืองใสดี
O: V/S T 37.0 C P 148 ครั้ง/นาที R 42 ครั้ง/นาที BP 112/64 mmHg Urine out put 5 ml/kg /hr.
-
วันที่ 31/3/64
NEC stage II C NPO
Anemia
S: ตื่นดี ไม่มีไข้ รับ feed ได้หมดทุกมื้อ ไม่มีอาเจียน ไม่แหวะนม ดูดนมได้ ถ่ายตอน 2 ทุ่ม อุจจาระสี้หลืองไม่มีเลือดปน/มูกเลือดปริมาณเต็มแพมเพิส ไม่มีเลือดปน ปัสสาวะเหลืองใสดี
O: V/S T 37.0 C P 148 ครั้ง/นาที R 42 ครั้ง/นาที
BP 112/6mmHg Urine out put 5 ml/kg /hr.
คำสั่งตลอด
(BW 3170g)
-IF (24 keal/O2) 20mlX8 feed
-TPN TV rete 15 ml/hr.
-AC q 8 hr. If q > 1 pis
-Flim Abdomen พรุ่งนี้เช้า
วันที่ 1/4/64
NEC stage II Anemia
S: ตื่นดี มีไข้ ไม่ถ่าย อาเจียนเป็นเลือด รับ feed ได้ ดูดได้ปกติทางปาก ไม่แหวะนม ปัสสาวะเต็มแพมเพิส V/S stable
คำสั่งการรักษาตลอด
-IF (24 keal/O2) 20 ml po q 3 hr.X 4 feed ทางปาก
-TPN V 10 ml/hr.
Off OG Tube
-Ac q 8 hr.
-
-
กิจกรรมการพยาบาล :check:
-
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจาก ความไม่สมบูรณ์ของระบบทางเดินอาหารและมีการติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้งดน้ำและนมนาน 5 วันตามแผนการรักษา
- ดูด content ทุก 3 ชม. ประเมินลักษณะ สีและปริมาณของ content
- สังเกตอาการของความสามารถในการรับนมของทารกลดลง ท้องอืด สารอกนมบ่อย รายงานให้แพทย์ทราบ
- ส่งเสริมและให้กาลังใจแก่มารดาในการบีบนม เพื่อให้ทารกได้รับนมมารดาทางสายยางอย่างต่อเนื่อง
-
-
-
เกณฑ์การประเมิน
- ความตึงตัวและความยืดหยุ่นของผิวหนังเป็นปกติดี
- กระหม่อมไม่บุ๋ม ,ปากไม่แห้ง,ตาไม่ลึกโบ๋,น้าหนักไม่ลดเกิน10%
-
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3 เสี่ยงต่อการารขาดปฏิสัมพันธ์จากมารดาเนื่องจากต้องแยกจากมารดาเพราะได้รับ การรักษา
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายให้บิดามารดาทราบถึงเหตุผลที่ต้องแยกทารกมา เพื่อให้บิดามารดาคลายความวิตกกังวล 2. ส่งเสริมสัมพันธภาพสาหรับทารกและบิดามารดา เพื่อป้องกันการขาดการกระตุ้นสัมผัส โดยการ
- ส่งเสริมและกระตุ้นให้บิดามารดาเข้าเยี่ยมทารกสม่าเสมอ
- เปิดโอกาสให้บิดามารดาเข้าเยี่ยมทารกได้ตามเวลาและตามความเหมาะสม และอธิบายอาการและ
-
- แนะนาส่งเสริม สนับสนุนให้บิดามารดาสร้างสัมพันธภาพกับบุตร โดยการสัมผัส การอุ้ม พูดคุย
-
- ส่งเสริมให้บิดามารดามีส่วนร่วมในการดูแลทารก เช่น การเปลี่ยนผ้าอ้อม การเช็ดตัว
- สนับสนุนให้มารดาได้เลี้ยงลูกด้วยนมตนเอง โดยนัดเวลามาให้นมตามเวลาและตามความเหมาะสม สอนวิธีบีบและเก็บน้านมให้ทารก
- ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล อ่อนโยน โดยสัมผัสทารก เพื่อให้เป็นตัวอย่างแก่มารดา 5. สังเกตปฏิกิริยาการตอบโต้ของทารกเสมอ เพื่อการดูแลให้ทารกเกิดความพึงพอใจ
- ใช้ผ้าคลุมตู้อบเมื่อทารกหลับ เพื่อไม่รบกวนทารกและให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
- ดูแลความสุขสบายทั่วไปให้ทารกได้พักผ่อนเต็มที่
การประเมินผล
1.บิดามารดาเข้าเยี่ยมทารกทุกวัน มีความมั่นใจและให้ความร่วมมือในการกระตุ้นประสาทสัมผัส
- ทารกได้รับการกระตุ้นสัมผัสพูดคุย ประสานสายตาจากการดูดนมจากเต้าและการดูแลจากบิดามารดา สม่าเสมอ
- บิดามารดาให้ความร่วมมือในการเข้าเยี่ยม และมีปฏิสัมพันธ์กับทารกอย่างสม่าเสมอ
- ทารกได้รับการกระตุ้น
-
-
-