Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของระบบ Hormone ระหว่างตั้งครรภ์
HPL (Human Placental Lactogen)
ลดการเผาผลาญโปรตีน
ต่อมใต้สมอง ( Pituitary gland ) มีขนาดใหญ่ขึ้น
ลดการสร้างและหลั่งน้ำนม
การเผาผลาญอาหารเพิ่มขึ้น ชีพจรและหัวใจเต้นเร็ว อารมณ์ แปรปรวน อ่อนเพลีย เหงื่อออกมาก ทนต่ออากาศร้อนได้น้อย
ยับยั้งการทำงานของ insulin
Estrogen
เพิ่มขนาดกล้ามเน้ือมดลูก เพิ่มปริมาณเลือดที่มาเลี้ยงมดลูก รก ทารก
เพิ่มการคั่งของน้ำและโซเดียม ทำให้ปริมาณเลือดเพิ่มข้ึน
บอกถึงหน้าท่ีของรกสุขภาพของทารกในครรภ์
ทำให้เนื้อเยื่อเกี่ยวพันอ่อนตัว เอ็นยืดขยายตัวมากข้ึน ส่งผลให้ มีอาการ ปวดหลัง,หัวเหน่า
สร้างจากรกตั้งแต่ 6-12 wks. เพิ่มข้ึน 100 เท่า
เพิ่มการสะสมของเม็ดสีทำให้ผิวคล้ำ Chloasma และ Linea nigra
Progesterone
กระตุ้นท่อและต่อมน้ำนม - เต้านมคัดตึง
อิทธิพลของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง
กระเพาะอาหาร-ท้องอืด ท้องผูก, ท่อปัสสาวะคลายตัว -ปัสสาวะคั่ง
โปรเจสเตอโรนทาให้ท่อไตและท่อทางเดินปัสสาวะ ขยายตัว
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบต่างๆ คลายตัว เช่น มดลูกคลายตัว
HCG (Human Chorionic Gonadotropin)
Luteo-placental shift corpus luteum
3 เดือนมีปริมาณ 50,000 – 100,000 IU/L
20 wk เหลือ 10,000-20,000 IU/L
ทำให้ corpus luteum ให้ทำงานต่อไปอีก 8-10 week
การเปลี่ยนแปลงในระบบอวัยวะสืบพันธ์ุและผิวหนัง
มดลูก
7 สัปดาห์ มดลูกโตเท่ากับไข่ห่าน, 10 wk = ผลส้ม (2 เท่าของก่อนตั้ง ครรภ์) หลังจากเดือนท่ี 3 มดลูกโตเนื่องจาก ทารกโตขึ้น
ไตรมาสท่ี 1 มดลูกขยายขนาด เนื่องจากฮอร์โมน estrogen & progesterone และมีการเพิ่มขึ้น หลอดเลือด การขยายตัวของกล้ามเนื้อ และจำนวนเพิ่มขึ้น
Uterus change
ไตรมาสที่ 2
รูปร่างลักษณะกลม (spherical or gloular)
ไตรมาสที่ 3
เนื่องจากทารกมีขนาดยาวขึ้นทำให้มดลูกรูปร่างเป็นรูปไข่ (Ovoid)
ไตรมาสที่ 1
รูปร่างเหมือนลูกแพร์คว่ำ
เต้านม (Breast change)
ขยายขนาดใหญ่ขึ้น ไวต่อการสัมผัสเนื่องจากการกระตุ้นของ estrogen & progesterone มี venous congestion และ อาจพบ striae gravidarum
หัวนมมีสีคล้ำ มี ebaceous gland บริเวณลานหัวนม ขยายขนาดขึ้น เรียกว่า montgomery tubercles (คาดว่าช่วยให้หัวนมมีการหล่อลื่น)
รังไข่
Corpus luteum ทำงานให้ฮอร์โมนถึงประมาณ 7-10 wk จนกระทั่งรกทำหน้าที่ได้ดี จึงหมดหน้าท่ี และรังไข่จะไม่มีไข่ตกตลอดการตั้งครรภ์ แต่จะหลั่ง Relaxin
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนและการขยายขนาดทำให้ผิวหนัง เปลี่ยนแปลง เช่น Hyperpigment จากการกระตุ้น ของ melanotropin จาก Ant‘ pituitary
ระบบผิวหนัง เอ็น และกล้ามเนื้อ
ผิวหนังคล้ำขึ้น เช่น หลังคอ หน้าอก ใต้รักแร้ หัวนม ขาหนีบ
อาจพบรอยแตกที่อื่น เช่น เต้านม ต้นขา
สีผิวเข้มขึ้น
กระดูกและกล้ามเนื้อ
การหย่อน (slight relaxation) ของข้อต่อเชิงกราน เนื่องจาก estrogen & relaxin ทาใหเดินลำบาก ปวดได้
การเกิด Lordosis เพื่อให้มีการ balance การทรงตัว ทำให้จุดที่ลงน้ำหนัก (gravity) เปลี่ยนไปทำให้เกิด อาการปวด หลังเดินลำบาก
อาจพบการแยกของ symphysis pubis ได้
การเปลี่ยนแปลงขอระบบ Metabolism
Metabolism ของโปรตีน
ความต้องการโปรตีน เพิ่มสูงข้ึนโดย 50% เป็นส่วนท่ีนำไปใช้ในการเจริญเติบโตของร่างกายทารก และที่เหลือไปใช้ในการเพิ่มขนาดมดลูก เต้านม เม็ดเลือด
Metabolism ของคาร์โบไฮเดรต
BMR เพิ่มขึ้น
Metabolism ของไขมัน
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
Metabolism ของแร่ธาตุ
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ของหญิงตั้งครรภ์
ไตรมาสที่สอง
ยอมรับ รู้สึกกลัวลดลง มีความรู้สึกรักตัวเอง คิดถึงแต่ตนเอง
ไตรมาสที่สาม
จะมีความรู้สึกภาคภูมิใจ และมีความวิตกกังวลเพิ่มขึ้น
ไตรมาสแรก
ร้องไห้ง่าย วิตกกังวลมาก คิดถึงแต่เรื่องของตนเอง
ระยะนี้ต้องการผู้ที่เข้าใจปลอบโยน ให้กำลังใจ
ลังเล หงุดหงิด น้อยใจง่าย
การเปลี่ยนแปลงของ Renal system
ผลจาก Estrogen & progesterone, มดลูกที่โตข้ึนกดเบียด และปริมาณเลือดเพิ่มข้ึนทำให้กรวยไตและท่อไตขยายโตข้ึนเมื่อสัปดาห์ที่ 10 และหย่อนคลายตัว (ข้างขวามากกว่าข้างซ้าย) เนื่องจากมดลูกอยู่ทางด้านขวามากกว่าและท่อไตจะยาวข้ึนและคดงอเกิด hydroureter & hydronephrosis
น้ำปัสสาวะคั่งในกรวยไตและท่อไต อัตราการไหลช้าลง ทำให้เกิดปัสสาวะเป็นด่าง และติดเชื้อได้ง่ายข้ึน
ช่วยให้ร่างกายคงความสมดุล electrolyte (acid-base balance), ควบคุมน้ำนอกเซลล์ ขจัดของเสีย และ คงสารอาหารที่จำเป็น
การเปลี่ยนแปลงในระบบต่อมไร้ท่อ
การมี peristalsis ลดลงทำให้มีการดูดซึมน้ำกลับในลไไส้ใหญ่มาก เกิด อาการท้องผูก
การเพิ่มของ progesterone ทำให้ smooth muscle คลาย ตัว ลดการตึงตัว ทำให้เกิดการไหลย้อนกลับของท่ออาหารได้
(esophageal regurgitation) หรือ heartburn (pyrosis) เริ่มในช่วงไตรมาสแรก และมากข้ึนในไตรมาส 3
การเปลี่ยนแปลงในระบบ Systemic
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจ
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจ การไหลเวียนเลือด
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท
การบวมของส่วนปลายประสาททำให้เกิด carpal tunnel syndrome (แสบร้อน เจ็บแปล๊บ ปวด บริเวณมือแผ่ไปถึงข้อศอก) ในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์ เนื่องจากการกด median nerve
ปวดหัว ปัญหาการมองเห็น เป็นลมเกิดข้ึนได้
การกดลงบน pelvic nerve และการลดการเคลื่อนไหวของหลอด เลือดเนื่องจากมดลูกโตทำให้ประสาทรับสัมผัสบริเวณขาไม่ดี