Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Urinary system Infection during pregnancy - Coggle Diagram
Urinary system Infection during pregnancy
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค
เป็นผลมาจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ร่วมกับการถูกกดทับของมดลูกที่มีขนาดโตขึ้นขณะตั้งครรภ์
เกิดการคั่งของน้ำปัสสาวะในไต ท่อไต ค้างอยู่นาน เป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เมื่อเกิดการคั่งจะเกิดภาวะ pyelonephritis
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
ระดับ creatinine และ BUN ในเลือดลดต่ำลง การดูดซึมกลับของโปรตีนีน้อยมาก ทำให้ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะได้
พบบ่อย
asymptomatic bacteriuria
acute cystitis
acute pyelonephritis
ชนิด
Asymptomatic bacteriuria: ASB
พบแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 colony forming unit/ml (cfu/ml) จากการเก็บปัสสาวะอย่างสะอาด 2 ครั้งติดต่อกัน
ไม่มีอาการแสดง
Acute cystitis
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ
มีอาการ
เจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะบ่อย
ปวดปัสสาวะจนต้องรีบปัสสาวะ
มีไข้สูง
อ่อนเพลีย
ปวดบริเวณท้องน้อย
Acute pyelonephritis
พบแบคทีเรียในปัสสาวะ มากกว่า 105 cfu/ml
มีอาการ
ปัสสาวะเป็นหนอง
มีไข้
หนาวสั่น
ปวดบริเวณบั้นเอว
Nephrotic syndrome
พบโปรตีนในปัสสาวะมากประมาณ 5 กรัมต่อวัน
โปรตีนในเลือดต่ำ
ไขมันในเลือดสูง
มีอาการ
บวมโดยไม่ทราบสาเหตุ
renal failure
chronic renal failure
มาจากโรคหลายอย่าง
DM
SLE
glomerulonephritis
ส่วนใหญ่มักจะไม่มีการตั้งครรภ์ หากตั้งครรภ์ได้ต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด
acute renal failure
จากการแท้งติดเชื้อ (septic abortion), preeclampsia with severe feature, hemolytic uremia syndrome
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ
ปัจจัยส่งเสริม
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์
ทำให้ท่อไตตึงตัวการเคลื่อนไหวและการหดรัดตัวของท่อไตลดลงประสิทธิภาพในการดูดซึมกลับลดลง ทำให้ปัสสาวะค้างอยู่ในทางเดินปัสสาวะ
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอด หรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ย้อนกลับขึ้นไปร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานของ ระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์ จากผลของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนและการขยายตัวของขนาดมดลูก เป็นปัจจัยเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดิน ปัสสาวะได้ ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาขณะตั้งครรภ์ของไต
อาการและอาการแสดง
Lower UTI
ท่อปัสสาวะอักเสบ
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะแสบขัด
กระปิดกระปรอย
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ำล้างเนื้อ
ปวดบริเวณหัวหน่าว
Upper UTI
กรวยไตอักเสบ
พบปัสสาวะเป็นสีขุ่น หรือสีน้ำล้างเนื้อ
เจ็บบริเวณชายโครง
ปวดหลังบริเวณตำแหน่งของไต
มีไข้
หนาวสั่น
คลื่นไส้อาเจียน
ติดเชื้อในกระแสเลือด
หากไม่ได้รับการรักษาอาจช็อกและเสียชีวิต
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การแท้ง
ติดเชื้อในกระแสเลือด
septic shock
ต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกตายคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติ
การติดเชื้อ
อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
ตรวจร่างกาย
พบปัสสาวะขุ่น หรือพบปัสสาวะเป็นสีน้ำล้างเนื้อ
มีไข้
ปวดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าว
หากกดบริเวณ costovertebral angle จะปวดมาก
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ urine analysis
พบไข่ขาว
ตรวจ urine culture
พบเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 105 dfu/ml
แนวทางการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
แนะนำให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ทำการคัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น โดยตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ (urine culture) ในสตรีที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกทุกรายหรือทำเฉพาะในรายที่มีความเสี่ยง
การรักษา
ติดเชื้อแบบ ASB
รับยาปฏิชีวนะ
หลังจากได้รับการรักษา 7 วัน ควรตรวจ urine culture เพื่อตรวจหาเชื้อโรคซ้ำ
ติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
ยาปฏิชีวนะที่มีความไวต่อเชื้อและปลอดภัยต่อมารดาและทารกมากที่สุด
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
รับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ และให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ พร้อมทั้งส่งตรวจ Urine culture
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
เน้นความสำคัญของการมาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
กรณีที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและได้รับการรักษา ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ
กรณีที่ต้องรับเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าในถึงความจำเป็น
ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินเสียงหัวใจของทารกและการดิ้นของทารก
สังเกตและบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลเพื่อบรรเทาความไม่สุขสบาย
ดูแลประคับประคองจิตใจ ในรายที่มีอาการรุนแรง
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป
เน้นเรื่องการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ให้คำแนะนำเช่นเดียวกับคำแนะนำเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์