Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะติดเชื้อขณะตั้งครรภ์เรื่อง…
บทที่ 9การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะติดเชื้อขณะตั้งครรภ์เรื่อง การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
Cytomegalovirus: CMV :star:
พยาธิสรีรภาพ :silhouette:
ติดต่อหลายทาง ทั้งทางตรงและทางอ้อม CMV พบได้จากสารคัดหลั่งหลายชนิดโดยไม่มีอาการของโรค นอกจาก
บางกลุ่มที่อาจเป็นโรค Mononucleosis
ซึ่งมีอาการไข้สูงเป็นเวลานาน มีตับอักเสบเล็กน้อย เกิดอาการโรคที่รุนแรงในการติดเชื้อในทารกในครรภ์
อาการ :warning:
mononucleosis syndrome ไข้สูงนานปวดกล้ามเนื้อ หรือมีอาการ ปอดบวมตับอักเสบ อาการทางสมอง
ทารกที่รุนแรง
ทางสมองและระบบประสาท ได้แก่ :!!: hepatosplenomegaly, thrombocytopenia etc.
ผลกระทบ :warning:
สตรีตั้งครรภ์
การแท้ง คลอด รกลอกตัวก่อนกําหนด ติดเชื้อถุงน้ําคร่ํา
ทารก
IUGR แท้ง fetal distress คลอดก่อนกําหนด น้ําหนักน้อย ทารกเสียชีวิตในครรภ์ และตายคลอด อาการทางระบบประสาทและสมอง
การประเมินและการการวินิจฉัย :pencil2:
มีไข้ คออักเสบ ต่อมน้ําเหลืองโต ข้ออักเสบ :check:
การซักประวัติ :check:
LAB :check:
พบ Atypical Lymphocytes และเอ็นไซน์ตับสูงขึ้นพบเชื้อ CMV (ปัสสาวะ,WBC)
mniocentesis for CMV DNA PCR เพื่อยืนยันทารกใน 6-7 Wks
Plasma specimen for culture หรือquantitative real-time PCR
การตรวจพิเศษการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง :check:
แนวทางการป้องกันและการรักษา :recycle:
การป้องกัน
ป้องกันได้โดยการหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่มีการติดเชื้อ
เคยมีประวัติเว้นระยะการมีบุตรไปก่อนอย่างน้อย 2 ปี รับการให้คําปรึกษา
ล้างมือด้วยสบู่ ต้องสัมผัสกับเด็กควรสวมถุงมือและล้างมือด้วยสบู่หรือน้ํายาฆ่าเชื้อโรคด้วยไม่รับประทานอาหารร่วมกัน
การรักษา
รับ immunoglobulin ของ anti-cytomegaloviral human
รับยาต้านไวรัสเช่นValtrex, Ganciclovil, Valavir เป็นต้น
การพยาบาล :<3:
ตั้งครรภ์ :red_flag:
รับการรักษา
ประเมินทารกแรกเกิดที่มีการติดเชื้อ และให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
ระยะคลอด :red_flag:
Universal precaution ควรแยกห้องคลอด และอุปกรณ์ เครื่องใช้ต่าง ๆ
ดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว ทําความสะอาดร่างกายทันที
ระยะหลังคลอด :red_flag:
โดยเน้นหลัก Universal precaution
งดให้นมมารดา
เน้นย้ําเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดและตรวจตามนัด
อาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพบแพทย์
hepatitis A virus: HAV
:star:
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ตรวจพบน้ําดีในปัสสาวะแสดงว่าตับมีการทํางานผิดปกติ มีอาการตับเหลือง ตาเหลือง หายมีภูมิคุ้มกันไม่เป็นพาหะ
ผลกระทบ :warning:
มีผลคุ้มกันทารกอายุประมาณ 6-9 เดือน อาจมีการแพร่กระจายเชื้อไปยังทารกในระยะคลอด หรือหลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
:pencil2:
อาหาร การขับถ่าย การสัมผัสเชื้อโรค :check:
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด และอาจมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง :check:
หา antibody-HAV & IgM-antiHAV &LFT :check:
การป้องกันและการรักษา :recycle:
รักษาแบบประคับประคอง ถึงแม้ว่าเชื้อ HAV จะไม่ผ่านรก มีการติดเชื้อในระยะใกล้ รับ ISG ขนาด 0.5 mg แก่ทารกทันทีหลังคลอด
การพยาบาล :<3:
ให้ความรู้แผนการรักษาลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือ
การปฏิบัติตัว
พักผ่อน อาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย และดื่มน้ําให้เพียงพอ :check:
เลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ ได้แก่ acetaminophen
เลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ :red_cross:
COVID-19 during Pregnancy :star:
อาการ
:warning: อาจมี +37.5 ํcไอ น้ามูกเจ็บคอหายใจลําบาก
ผลกระทบ :warning:
มารดา
การคลอดก่อนกําหนด รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกําหนด
ทารก
พัฒนาการล่าช้า คลอดน้ําหนักตัวน้อย ติดเชื้อได้หลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย :pencil2:
สัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ ไปในพื้นที่เสี่ยงและมีการแพร่ระบาด อาการ :check:
มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส อ่อนเพลีย ไอแห้ง หายใจติดขัด หรือท้องเสีย :check:
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :check:
Plt& lymphocyte ต่ำ แต่ C-reactive protein&เอนไซม์ตับ& creatine phosphokinase สูง
RT-PCRจากสารคัดหลั่ง
ส่งสิ่งคัดหลั่งตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
เพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือด
X-ray พบมีปอดอักเสบ :check:
การพยาบาล :<3:
ป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 :forbidden:
หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้มีความเสี่ยง
social distancing 1-2m
เลี่ยง สัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
ปรุงอาหารให้สุกร้อน
ใช้ของส่วนตัว
ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่ 20วินาที Jell Al 70เปอร์เซ็นต์
ไม่ได้สวมหน้ากากไอจาม ใช้ต้นแขนด้านบนปิดปากทุกครั้ง
ไข้ ไอ เจ็บคอ หายใจเหนื่อย รีบไปพบแพทย์
เน้นย้ํา หากมีอาการผิดปกติให้มาพบแพทย์ก่อนวันนัด
มารดาหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง :check:
Iso&QT 14 วัน
งดการออกไป งด< 2 เมตร
แจ้งพยาบาลผดุงครรภ์ให้ทราบว่าตนเองอยู่ระหว่างการเฝ้าระวัง 14 วัน
กรณีเจ็บครรภ์คลอด ต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่
ข้อแนะนําการปฏิบัติสําหรับมารดาหลังคลอด :check:
ทําความสะอาดบริเวณเต้านมและหัวนมด้วยน้ําและสบู่ก่อนปั๊มนม
ล้างมือ หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70%ขึ้นไป
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดแเตรียมนม ปั๊มนม
ล้างทําความสะอาดอุปกรณ์ด้วยน้ํายา และทําการนึ่ง
การใช้ช้อน หรือถ้วยเล็ก หรือขวด ให้นมยึกหลักการป้องกันเคร่งครัด
ควรอธิบายถึงความเสี่ยง ความจําเป็น การแยกแม่ออกจากทารก
Hepatitis B virus :star:
พยาธิสรีรภาพ :silhouette:
ระยะแรก
เชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ยังไม่มีอาการแสดงของการได้รับเชื้อและเอนไซม์ตับปกติ ตรวจเลือดจะพบ HBeAg +& Hepatitis B virus DNA (viral load) จํานวนมาก
ระยะที่สองประมาณ 2-3 เดือน
อ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด คลื่นไส้อาเจียน อาการตับ พบ anti-HBe +& Hepatitis B virusDNA ลดลง
ระยะที่สาม
anti-HBe ทําลาย HBeAg จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL (20,000 IU/mL) อาการตับอักเสบจะค่อย ๆ ดีขึ้น
ระยะที่สี่
re-activation phase ทําให้เกิดการอักเสบของตับขึ้นมาอีก HBeAg ให้ผลลบ และ anti-HBeได้ - หาก > 105 copies/mL จะตับอักเสบเรื้อรังจนเนื้อตับเสียหาย แข็งและกลายเป็นมะเร็งตับ
อาการ :warning:
เชื้อจะฟักตัว 50-150 วัน มีอาการจะเริ่มด้วยมีไข้ต่ํา ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องชายโครงขวาตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะสีชาแก่ มีตาตัวเหลือง ปกติภายใน 2-4 สัปดาห์
ผลกระทบ :warning:
สตรีตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 3 เสี่ยงในการคลอดก่อนกําหนด
ทารก
แรกเกิดน้ําหนักตัวน้อย ตายในครรภ์ เสียชีวิตแรกเกิด ติดเชื้อได้
การประเมินและการวินิจฉัย :pencil2:
การซักประวัติ :check:
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตับโต ตัวตาเหลือง :check:
LFT & HBsAg, Anti-Hbs, Anti-HBc, HBeAg และ Anti-HBe :check:
แนวทางการป้องกันและรักษา :recycle:
คัดกรองทุกราย โดยตรวจหา HBsAg เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก ครั้งที่2ในไตรมาสที่ 3 + >>ตรวจหา HBeAg ALT, Creatinine
ติดเชื้อ Hepatitis B virus ให้การรักษา
พักผ่อน งดการออกแรงหนัก
อาหารอ่อนย่อยง่าย เลี่ยงไขมันสูง
ครอบครัวสามีมาตรวจเลือด
การรักษาTDF1 t/d (300mg) 28-32 Wks ต่อเนื่อง 4 wks หลังคลอด
ค่า HbeAg -และเอนไซม์ตับปกติ ไม่จําเป็นต้องรักษา
เลี่ยงหัตถการที่เสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อแก่ทารก อาจใช้วิธี NIPT แทน
คลอดทางช่องคลอด ดูดสุญญากาศดูดมูกและเลือดมากสุดเลี่ยงใช้คีม
ทารกรับการฉีดHBIG& HB vaccine in 12 hr(HBIGใน 7 วัน)
รับวัคซีนตามแผน
เลี้ยงบุตรด้วยได้ทันที
การพยาบาล :<3:
ระยะตั้งครรภ์
:red_flag: ให้ความรู้ ตระหนักถึงความสําคัญของการมาการคัดกรองตรวจตามนัด สังเกตการณ์ดิ้นของทารก ติดเชื้อเรื้อรัง แนะนําการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
:red_flag:เลี่ยงการเจาะถุงน้ําคร่ําและการตรวจทางช่องคลอด ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่ง เลี่ยงการทําให้เกิดรอยถลอก ทําความสะอาดทารก รับภูมิคุ้มกัน strict precaution
ระยะหลังคลอด
:red_flag: ให้นมได้เว้นมีหัวนมแตกและมีการอักเสบติดเชื้อของหัวนม งดให้ เน้นการรักษาความสะอาด ล้างมือ ดูแลร่างกายให้แข็งแรง นําทารกมารับวัคซีน ตรวจตามนัด
Varicella-zoster virus: VZV :star:
พยาธิสรีรภาพ :silhouette:
ผ่านทางเยื่อเมือกบุres ฟักตัวนาน 10-20 วัน ทารกติดแรกคลอด
congenital varicella syndrome
ติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยมารดาติดเชื้อไวรัสสุกใสขณะตั้งครรภ์ ซึ่งจะมีผลต่อความพิการของทารกในครรภ์ เน้น3เดือนแรก
อาการ :warning:
ไข้ต่ําๆ นํามาก่อนประมาณ1-2 วัน ผื่น และตุ่ม ตามไรผม
dewdrops on a rose petal :wilted_flower:
ลามไปบริเวณหน้าลําตัว และแผ่นหลังเมื่อยตามตัวร่วมด้วย LNคอ หูโตกดเจ็บ ตุ่มน้ําจะรู้สึกคันมาก ต่อมาเป็นตุ่มหนอง และแห้งลงจนตกสะเก็ดในที่สุด
ผลกระทบ :warning:
สตรีตั้งครรภ์
มีปัญหาภาวะปอดอักเสบ หายใจล้มเหลว อาการทางสมอง ทําให้ซึมลง และมีอาการชัก ทําให้เสียชีวิตแม่ลูก
ทารก 2 ระยะ
การติดเชื้อในครรภ์
congenital varicella syndrome
รายที่มีการติดเชื้อรุนแรง อาจทําให้อัตราการตายในระยะแรกคลอดสูง
การติดเชื้อปริกําเนิด
อาจติดเชื้อผ่านทางมดลูก และช่องทางคลอด
อัตราเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 20-30
การประเมินและการวินิจฉัย :pencil2:
สัมผัสผู้ติดเชื้อสุกใส อาการ :check:
ไข้มีผื่นตุ่มน้ําใสตามไรผม ตุ่มน้ําใสๆ บนฐานสีแดง คล้ายไข้หวัดใหญ่ :check:
LAB :check:
IgM ต่อไวรัสสุกใส ไวรัสงูสวัด (VZV) ด้วยเทคนิค ELISA
IgG ต่อไวรัสสุกใสไวรัสงูสวัด (VZV) ด้วยเทคนิค ELISA ให้วัคซีนหรือประกอบการเดินทางไปต่างประเทศ
แนวทางการป้องกันและการรักษา :recycle:
การฉีดวัคซีนป้องกันสุกใส
ประคับประคอง เลี่ยงยาในกลุ่มแอสไพริน(Reye’s syndrome)
การใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใสAcyclovir ให้ใน 24-48 hr หลังผื่นขึ้น
การพยาบาล :<3:
ระยะก่อนตั้งครรภ์ :red_flag:
รับวัคซีนเว้นตั้งครรภ์> 1 m
ระยะตั้งครรภ์
:red_flag: พักผ่อนอย่างเต็มที่ โปรตีนสูง วิตามินซีสูง ดูแลร่างกายแข็งแรง ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ระบายความรู้สึก แนะนําแหล่งสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง
ระยะคลอด :red_flag:
เน้นหลัก Universal precaution ควรแยกห้องคลอด และอุปกรณ์ ดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารก ทําความสะอาดร่างกายคลอดหลัง
ระยะหลังคลอด :red_flag:
แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ5วันแรกหลังคลอด
แยกของใช้ เน้นเรื่องความสะอาด
มีการตกสะเก็ดแล้ว ให้นมมารดาได้
ทารกรับวัคซีน VariZIG ประเมินภาวะการติดเชื้อของทารก ตรวจตามนัดและมาพบแพทย์
Rubella/German measles :star:
พยาธิสรีรภาพ :silhouette:
ไม่มีอาการ
โดยกลุ่มนี้จะตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อหัดเยอรมันอย่างเดียว และจะกลายเป็นพาหะของโรคต่อไป
มีอาการ
เข้าไปทําลายผนังหลอดเลือดและเนื้อรกทําให้เนื้อรกและหลอดเลือดกลายเป็นเนื้อตาย ส่วนในทารกเชื้อจะเข้าไปในเซลล์ที่กําลังแบ่งตัว ทําให้เซลล์ติดเชื้อ
อาการ
มีไข้ต่ํา :warning: ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ และLNหลังหูโต ปวดข้อ โดยไข้จะเป็นอยู่ 1-2 วันก็จะหาย maculopapular เริ่มขึ้นที่ใบหน้า ลงมาตามหน้าอก ลําตัว แขนขา จนทั่วร่างกาย ชัด 7-10 นาน 4 Wks แต่ในบางรายที่ไม่มีอาการ
ผลกระทบ :warning:
ทําให้เกิดการแท้ง ตายคลอด หรือพิการแต่กําเนิด
ชั่วคราว เช่น ตับม้ามโต ตัวเหลือง โลหิตจาง
ถาวร ได้แก่ หูหนวก หัวใจพิการ ตาบอด (ต้อกระจก, ต้อหิน) สมองพิการ
ปรากฏภายหลัง เช่น ภาวะเบาหวาน โรคต่อมไทรอยด์ สูญเสียการได้ยิน
การประเมินและการวินิจฉัย :pencil2:
ซักประวัติการติดต่อ อาการ :check:
ผื่นสีแดงคล้ายหัด ตาแดง ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อย ไม่พบอาการ :check:
ผล HAI titer
< 1:8 หรือ 1:10 แสดงว่าไม่ติดเชื้อ ไม่มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ อย่างน้อย 2 ครั้ง ครั้งที่2 สูงกว่าครั้งแรกอย่างน้อย 4 เท่า=ติดเชื้อ
ตรวจ IgM antibody และ IgG antibody
โดยจะตรวจ 2 ครั้ง
จากสายสะดือ
IgM antibody / PCR พบภายหลัง ติดเชื้อ 7-8 Wks :check:
การป้องกันและการรักษา :recycle:
วัคซีนมีประสิทธิภาพสูง คุ้มกับค่าใช้จ่าย
ทารกแรกเกิด แม่ติดเชื้อ หลังคลอด เก็บเลือดจากสายสะดือส่งตรวจ
การพยาบาล :<3:
ไม่ได้ตั้งครรภ์ และหลังจากให้วัคซีนจะต้องคุมกําเนิดต่อ 3 เดือน
ฝากครรภ์ ยังไม่มีภูมิคุ้มกันแนะนําให้สตรีตั้งครรภ์ เลี่ยงสัมผัสเชื้อ
ฝากครรภ์อย่างสม่ําเสมอ ตรวจ ทันทีที่สงสัยมีการติดเชื้อ
ซักถามได้รับภูมิคุ้มกัน การสัมผัสกับผู้ที่เป็นโรคอาการ
ได้ระบายความรู้สึกและซักถาม
ให้ความรู้ เพื่อให้ ตัดสินใจเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์
ยุติการตั้งครรภ์ เตรียมร่างกายและจิตใจ
ตั้งครรภ์ต่อ และคลอดทารกที่มีความพิการ ดูแลด้านจิตใจให้ความรู้
Toxoplasmosis(โปรโตซัว) :star:
พยาธิสรีรภาพ
:silhouette: ผลไม้ที่ปนเปื้อนดินที่มีoocyte ของเชื้อซึ่งขับออกมาปนกับอุจจาระแมว ปรุงไม่สุก หายได้เองหรือไม่มีอาการ
ยกเว้นในกลุ่มคนที่มีความบกพร่องของภูมิต้านทานรวมทั้งการติดเชื้อของทารกในครรภ์และเด็กแรกเกิด
อาการน้อย
:warning: คือ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ อาจมี Mononucleosis
รุนแรง(ภูมิคุ้มกันบกพร่อง)
Chorioretinitis ปอดบวม กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ผลกระทบ :warning:
สตรีตั้งครรภ์
การแท้ง คลอดก่อน บ ถุงน้ําคร่ําแตก รกลอกตัวก่อนกําหนด มีการอักเสบ
ทารก
(ตา สมอง )ไข้ชัก
หัวบาตรmicrocephaly
, chorioretinitis,Cerebral calcification ตับและม้ามโต ตาและตัวเหลือง ทารกมักเสียชีวิตหลังคลอด :!!:
การประเมินและการวินิจฉัย
สัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค เช่น แมว อ่อนเพลียปวดกล้ามเนื้อ :check:
มักไม่แสดงอาการ ปอดบวม หัวใจอักเสบ :check:
ห้องปฏิบัติการ:check:
DNA เชื่้อ น้ําเหลืองดู titer IgG และ IgM
ตรวจเลือดสายสะดือ น้ําคร่ํา พบ IgA และ IgM
คลื่นเสียงความถี่สูง
แนวทางการป้องกันและการรักษา :recycle:
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทน ไม่ปล่อยให้แมว
จําเป็นต้องจสัมผัส สวมถุงมือยาง และล้างมือ
เลี่ยงเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ไม่ล้าง
พบ IgM ในมารดา รักษาด้วย spiramycin
การเจาะเลือดสายสะดือทารก&ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การพยาบาล
:<3:
ระยะตั้งครรภ์ :red_flag:
เปิดโอกาสให้ซักถาม และให้กําลังใจ ตามผลเลือด รักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยา SE ยา
ระยะคลอด :red_flag:
หลัก Universal precaution ควรแยกห้องคลอด และอุปกรณ์ ทารกคลอดเช็ดตาด้วย
0.9%NSS เช็ดตาทันที :!!:
จากนั้น
ป้ายตาด้วย 1% tetracycline ointment
หรือ0.5% erythromycin ointment
หรือหยอด1% Silver nitrate (AgNO3)
ระยะหลังคลอด :red_flag:
ระวังการตกเลือด ติดเชื้อหลังคลอดเน้นเรื่องการรักษาความสะอาด การมาตรวจตามนัดอาการผิดปกติของทารก รีบพบแพทย์
Zika
:star:
อาการ
:warning: ระยะฟักตัวอยู่ที่ประมาณ 3-12 วัน ไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
ทารกที่คลอดมามีศีรษะเล็ก(ไตรมาส 1)
ผลกระทบ :warning:
ไตรมาสที่ 3
มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ พบผื่นหลังคลอด อาการอื่น ๆ
ทารก
ระบบประสาท ตาและการมองเห็น เติบโตช้า ตายในครรภ์ หลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย :pencil2:
ซักประวัติอาการของผู้ป่วย :check:
มีไข้ เยื่อตาอีกเสบ LNโต ซีด บวมปลายมือปลายเท้า ปัญหาหายใจ :check:
RT-PCR&IgM(ELISA /Immunofluorescence) เช่น เลือด สิ่งคัดหลั่งน้ําคร่ํา เลือดจากสะดือหรือรก :check:
แนวทางการป้องกันและการรักษา :recycle:
เฝ้าระวังครบ ครอบคลุม 4 ด้าน
ไม่มีวัคซีนป้องกัน พักผ่อนดื่มน้ํามาก ๆ รักษาตามอาการ
ห้ามรับประทานยาแอสไพริน & NSAIDs :!!:
คำแนะนำ :sound:
ยาทาป้องกันยุงกัด
นอนในมุ้ง ป้องกันยุงเข้าบ้าน
สวมเสื้อผ้าเนื้อหนา สีอ่อน ๆ
กําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
เลี่ยงการเดินทางที่มีการระบาด
การใช้ถุงยางอนามัย
อาการที่สงสัยว่าอาจเป็นโรคนี้ ควรรีบปรึกษาแพทย์
การป้องกันไม่ให้ตนเองถูกยุงกัด โดยเฉพาะในระยะ 7 วันแรกที่มีอาการ
การพยาบาล :<3:
ระยะตั้งครรภ์ :red_flag:
อธิบายความรู้ของโรคแผนการรักษา
V/S เน้น T
ตามผล Lab
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ย้ําการมาตรวจครรภ์ตามนัด
ระยะคลอด :red_flag:
ยึดหลัก universal precaution
ระยะหลังคลอด :red_flag:
ตรวจร่างกายทารกแรกเกิด
ทานโปรตีนและวิตามินสูง พ้นระยะการติดเชื้อเลี้ยงนม