Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการจัด การเรียนรู้ในชั้นเรียน - Coggle Diagram
เทคนิคการจัด
การเรียนรู้ในชั้นเรียน
การอภิปราย
ประโยชน์
ผู้เรียนได้ทำงานเป็นกลุ่ม
ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความคิด
เป็นวิธีการพัฒนาเจตคติความมีเหตุผล
โอกาสที่ควรใช้
เมื่อต้องการให้วิจารณ์
เพื่อสรุปกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว
ใช้ในการรายงานผล
ลักษณะ
การระดมพลังสมอง
การโต้วาที
การอภิปรายหมู่
การอภิปรายแบบสองกลุ่มใหญ่
ข้อเสนอแนะ
การอภิปรายบางหัวข้อ
หัวข้อการอภิปรายบางเรื่อง
ครูควรเลือกรูปลักษณะของการอภิปรายที่เหมาะสม
ครูมีหน้าที่คอยแนะและกระตุ้น
จัดสถานที่ให้เหมาะสมกับการอภิปราย
ในชั้นเรียนที่ยังไม่มีประสบการณ์การอภิปรายมาก่อน
การบรรยาย
ลักษณะที่ดี
ครูควรบรรยายด้วยน้ำเสียงชัดเจน
ครูควรสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
จัดเนื้อหาให้พอเหมาะกับเวลาที่จะใช้สอน
มีเอกสารประกอบการบรรยาย
มีสื่อประกอบการบรรยาย
ควรให้ผู้เรียนทราบจุดประสงค์
ลักษณะที่น่าสนใจ
การบรรยายแบบเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถาม
การบรรยายประกอบการสาธิต
การบรรยายที่ใช้หนังสือประกอบเป็นตอนสั้น ๆ
การบรรยายที่เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมอื่น ๆ
2.การบรรยายที่มีตัวอย่างประกอบ
การบรรยายโดยใช้สื่อประกอบแบบต่าง ๆ
วิธีดำเนินการ
ขั้นสรุป
ขั้นการบรรยาย
ขั้นเตรียมการ
โอกาสที่ควรใช้
เพื่อสรุปหลักเกณฑ์และความคิดรวบยอดที่สำคัญ
เพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียน
เพื่อประหยัดเวลาในการทดลองหรือค้นคว้า
เมื่อต้องการปูพื้นฐานให้ผู้เรียน
เพื่อแนะนำหรือเสนอเนื้อหาบทเรียนใหม่
การสาธิต
วิธีดำเนินการ
ขั้นสาธิต
3.ขั้นสรุป
ขั้นเตรียมการ
โอกาสที่ควรใช้
เมื่อมีอุปกรณ์การสอนไม่พอเพียง
เมื่อมีเวลาน้อย
การปฏิบัติที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
เมื่อต้องการให้ผู้เรียนได้สังเกต
เมื่อบทเรียนซับซ้อน
ลักษณะ
การสาธิตให้ดูเป็นรายบุคคล
การสาธิตให้ดูเป็นกลุ่ม
การสาธิตให้ดูพร้อมกันทั้งชั้น
การทดลองปฏิบัติ
วิธีดำเนินการ
ขั้นทดลองปฏิบัติ
ขั้นสรุปและประเมิน
ขั้นเตรียมการ
โอกาสที่ควรใช้
มีอุปกรณ์และเครื่องมือเพียงพอ
เมื่อผู้เรียนมีทักษะในการใช้เครื่องมือ
เมื่อการทดลองปฏิบัตินั้น
เมื่อบทเรียนนั้นจำเป็นจะต้องให้ผู้เรียนปฏิบัติด้วยตนเอง
ลักษณะ
การทดลองปฏิบัติเป็นรายบุคคล
การทดลองปฏิบัติเป็นกลุ่ม
การแก้ปัญหา
ลักษณะ
เป็นปัญหาที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
เป็นปัญหาตรงประเด็นสาระที่จะเรียนรู้
เป็นปัญหาสอดคล้องกับระยะเวลาที่เรียน
บทบาทของครู
ดูแลกระบวนการทำงานของกลุ่มหรือรายบุคคล
สร้างบรรยากาศของชั้นเรียนให้เป็นประชาธิปไตย
เสนอปัญหาที่จะนำไปสู่การเรียนการสอน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีกำลังใจในการแก้ปัญหา
แนะนำแหล่งข้อมูลหรือความรู้
วิธีดำเนินการ
การตั้งสมมุติฐานในการแก้ปัญหา
การทดลองและรวบรวมข้อมูล
กำหนดขอบเขตของปัญหา
การวิเคราะห์ข้อมูล
การสรุปผล
การแสดงบทบาทสมมุติ
วิธีดำเนินการ
ขั้นแสดง
ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผล
ขั้นเตรียมการ
ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป
เทคนิคและวิธีการ
การแสดงบทบาทที่มีลูกคู่มากกว่า 1 คน
การแสดงบทบาทผสม
การแสดงโดยมีลูกคู่
การหมุนเวียนบทบาท
การแลกเปลี่ยนบทบาท
การแสดงบทบาทสองบทบาท
ประโยชน์
ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก
ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกการปฏิบัติตน
เรียนรู้ และเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น
ช่วยให้ครูเข้าใจผู้เรียน
เรียนรู้และเข้าใจสาเหตุของพฤติกรรม
ลักษณะ
การแสดงโดยทันทีทันใด
การแสดงโดยกำหนดสถานการณ์ให้
การแสดงแบบเตรียมบทมาแล้ว
วิธีแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
กระบวนการ
ที่นั่งในกลุ่ม
การกำหนดงานให้กลุ่มทำ
ตำแหน่งหน้าที่ในกลุ่ม
การประเมินผลการทำงานของกลุ่ม
ประโยชน์
สร้างเสริมการอยู่ร่วมกัน
ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม
สร้างเสริมนิสัยที่ดี
เทคนิค
จำนวนผู้เรียนในกลุ่ม
จำนวนกลุ่มในแต่ละเรื่อง
การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม
วิธีการแบบอุปมาน
ประโยชน์
ช่วยให้ผู้เรียนค้นพบข้อเท็จจริง
ทำให้ผู้เรียนเข้าใจความหมาย
ช่วยให้ผู้เรียนค้นพบด้วยตนเอง
วิธีดำเนินการ
ขั้นเตรียม
ขั้นแสดงหรือขั้นสอน
ขั้นเปรียบเทียบ
ขั้นสรุป
โอกาสที่ควรใช้
เมื่อมีการทดลองง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน
เมื่อหลักการ กฎเกณฑ์ หรือข้อสรุป
เมื่อบทเรียนที่เกี่ยวกับหลักการ
วิธีการแบบอนุมาน
ประโยชน์
ให้โอกาสผู้เรียนที่จะพิสูจน์หลักการต่าง ๆ
ช่วยประหยัดเวลาการสอน
ผู้เรียนได้ทราบหลักการก่อนล่วงหน้า
โอกาสที่ควรใช้
เมื่อมีการทดลองที่ยุ่งยากซับซ้อน
เมื่อบทเรียนยาก
เมื่อต้องการประหยัดเวลาการสอน
วิธีดำเนินการ
ขั้นอธิบายหรือยกตัวอย่าง
ขั้นตรวจสอบหรือขั้นนำไปใช้
ขั้นแสดงหลักการ
ขั้นเตรียม