Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection…
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์
(Urinary system Infection during pregnancy)
ชนิดของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบขับถ่ายปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
Asymptomatic bacteriuria:
ASB
Acute cystitis
Acute pyelonephritis
Nephrotic syndrome
renal failure
chronic renal failure
acute renal failure
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับสตรีตั้งครรภ์
มาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
ให้การพยาบาลเพื่อบรรเทาความไม่สุขสบาย
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของ
โรค รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ
ดูแลประคับประคองจิตใจ ในรายที่มีอาการรุนแรง
ระยะคลอด
เน้นเรื่องการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ให้คำแนะนำเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์ โดยเน้น การคุมกำเนิด
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli)
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
ขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักตัวน้อย และทารกตายคลอด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ทำให้เกิดการแท้ง การเจ็บครรภ์
คลอดก่อนกำหนด อาจเกิด septic shock
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติเกี่ยวกับการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะหรือการติดเชื้อของระบบสืบพันธ์
ตรวจพบปัสสาวะขุ่นมีไข้ ปวดบริเวณ
ท้องน้อยเหนือหัวหน่าว
ตรวจ urine analysis จะพบไข่ขาวตรวจ urine
culture จะพบเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 105 dfu/ml
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคที่สำคัญของระบบทางเดินปัสสาวะเป็นผลมาจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต ในไตมีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มจึ้นประมาณร้อยละ 70-85 ทำให้ไตต้องปรับตัว
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดย้อนกลับขึ้นไป ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานของ ระบบทางเดินปัสสาวะจากผลProgesteroneและการขยายตัวของขนาดมดลูก เป็นปัจจัยเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะได้
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower UTI)
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะแสบขัด
กระปิดกระปรอย กลั้นปัสสาวะไม่ได้
อาการและอาการแสดงติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน (Upper UTI)
ปัสสาวะเป็นสีขุ่น ปวดหลังบริเวณตำแหน่งของไต มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
แนวทางการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
แนะนำให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
การรักษา
รายที่มีการติดเชื้อแบบ ASBให้ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ ampicillin, cephalexin
รายที่เป็นกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน ต้องรับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้สารละลายทางหลอด
เลือดดำ ส่งตรวจ Urine culture