Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Uterine rupture (มดลูกแตก) (ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์), นางสาวสุธิตา…
Uterine rupture (มดลูกแตก)
(ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์)
อาการและอาการแสดง
มดลูกใกล้จะแตก
Tetanic contraction - ปวดท้องอย่างรุนแรง กระสับกระส่าย แน่นหน้าอก
พบ Bandl's ring
ฟังเสียงหัวใจทารกได้
ช้า หรือ ฟังไม่ได้
PV พบการคลอดไม่ก้าวหน้า ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
มดลูกแตกแล้ว
มดลูกคลายตัว เจ็บครรภ์หาย
รู้สึกมีอะไรแยก
มีภาวะช็อค
เลือดเข้าไปช่องท้องจะดันกระบังลม
ทำให้หายใจลำบาก มีปวดร้าวไป
ที่บริเวณไหล่ สะบัก
FHS ช้าลง หรือ ฟังไม่ได้
ความหมาย
กรณีที่มีแผลเป็นจาก
การผ่าตัดมาก่อน
มดลูกแตก
ลักษณะ
รอยแผลเก่าแยกตลอดแนวยาว
มีการแตกของเยื่อหุ้มทารกและ
โพรงมดลูกเชื่อมติดต่อกับช่องท้อง
ทารกมักถูกดันเข้าสู่ช่องท้อง ทั้งตัว
หรือบางส่วน
มดลูกปริ
ลักษณะ
แผลเก่าแยกจากกัน
เยื่อหุ้มทารกยังไม่แยก
ทารกไม่ถูกดันเข้าสู่ช่องท้อง
ชนิดของมดลูกแตก
:check: Complete uterine rupture
รอยแตกทะลุชั้น peritoneum
ทารกมักจะหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
:check: Incomplete uterine rupture
รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum แต่
มีการฉีกขาดของชั้นกล้ามเนื้อมดลูกเท่านั้น
ทารกมักจะหลุดเข้าไปใน broad ligaments
คือ การฉีกขาด ทะลุ หรือมีรอยปริแยก
ของกล้ามเนื้อมดลูก ในระยะตั้งครรรภ์
รอคลอดหรือขณะคลอด
สาเหตุ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ก่อนการตั้งครรภ์
ได้รับการผ่าตัดบริเวณ
กล้ามเนื้อมดลูกมาก่อน
:check: C/S มาก่อน
:check: เคยได้รับการเย็บซ่อมแซม
มดลูกแตกมาก่อน
มดลูกเคยได้รับ
การบาดเจ็บมาก่อน
:check: การขูดมดลูก
:check: ประสบอุบัติเหตุต่างๆ
มดลูกมีความผิดปกติ
:check: pregnancy in undeveloped
uterine horn
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ระหว่างการตั้งครรภ์
:no_entry: ก่อนคลอด
ครรภ์แฝด
มดลูกหดรัดตัวอย่างรุนแรง
ตลอดเวลา
:no_entry: ขณะคลอด
Internal version
High forceps
ล้วงรกอย่างยาก
:no_entry: เกิดขึ้นเอง
Placenta increta
Adenomyosis
การพยาบาลเมื่อ
เกิดภาวะมดลูกแตก
:check: พบภาวะช็อก แก้ไขโดยให้ IV หรือ
เลือดชดเชย
:check: V/S ทุก 5-10 นาที
:check: ให้ออกซิเจน 100%
:check: ประเมินและบันทึกอาการการเสียเลือด
และประมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
:check: เตรียมร่างกายเพื่อ C/S
:check: ป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลัง
จากเกิดมดลูกแตก เช่น PPH
การพยาบาลภาวะ Thretened
uterine rupture
:check: ให้หยุด Oxytocin ทันที
:check: ให้ออกซิเจนมารดา
:check: ฟัง FHS ทุก 5 นาที
:check: เตรียมพร้อมในการผ่าตัด
การรักษา
:no_entry: แก้ไขภาวะช็อก
:no_entry: ผ่าตัดให้เร็วที่สุด
การป้องกัน
การป้องกันมดลูกแตก
จากรอยแผลเก่า
:check: แนะนำทำหมันเมื่อมีบุตรเพียงพอ
:check: ถ้าต้องการมีบุตรอีก
คุมกำเนิดอย่างน้อย 1 ปี
จดรอบประจำเดือนให้ถูกต้อง
พบแพทย์วินิจฉัยโรค
ฝากครรภ์สม่ำเสมอ
การป้องกันการเกิด
ภาวะมดลูกแตก
:check: ประเมินและวินิจฉัย เพื่อค้นหา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะมดลูกแตก
:check: Previous C/S
:recycle: ANC สม่ำเสมอ
:recycle: มาตามแพทย์นัด
:recycle: สังเกตอาการของภาวะมดลูกหดรัดตัว
:recycle: ไม่ควรมีบุตรเกิน 4 คน
:check: วินิจฉัยท่าทารก
:check: ระมัดระวังอุบัติเหตุบริเวณท้อง
:check: ติดตาม Progress of labor
การป้องกันมดลูกแตก
จาก Truamatic rupture
:check: ดูแลใกล้ชิด เมื่อให้ oxytocin
:check: ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกและติดตาม
ความก้าวหน้าของการคลอด
นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 140 ชั้นปีที่ 4