Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บททื่ 3 (หน้าที่1) การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์ท…
บททื่ 3 (หน้าที่1)
การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์ทางด้านสรีรวิทยาและจิตสังคม
การกระตุ้นพัฒนาการทารก
ในครรภ์
พัฒนาการทางการพยาบาล
มารดาทารกในครรภ์
ผลจากการศึกษาค้นคว้า
พบว่าทารกขณะอยู่ในครรภ์มีการเจริญเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะการเจริญเติบโตของของเซลล์สมองของทารกจะมีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว
ขณะอยู่ในครรภ์มารดาทารกมีการเจริญเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว เซลสมองทารกแบ่งตัวอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ10-18 สัปดาห์ เป็นช่วงที่เซลล์สมองเริ่มเจริญเติบโต“
ระยะขยายตัว
”สิ้นสุดการขยายตัวที่อายุ2ขวบ(ในระยั้งครรภ์ถึง 2 ขวบ)เป็น โอกาสทองที่พ่อแม่จะป้อนข้อมูลหรือนาสิ่งดีๆเข้าสู่สมองลูกน้อย
การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการกระตุ้นพัฒนาการทารกในระยะนี้ ท าให้เกิดเส้นใยภายในเซลล์สมองเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อครบ 2ขวบทารกจะมีพัฒนาการของสมองถึง 90%
ระยะเวลาและวิธีการกระตุ้น
พัฒนาการทารก
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์สามารถทาได้ตั้งแต่ในระยะแรกของการตั้งครรภ์แต่คุณภาพไม่ดีนักเนื่องจากเซลสมองยังแบ่งตัวไม่ดี
การกระตุ้นพัฒนาการที่ดีจะต้องเริ่มตั้งแต่เซลสมองของทารกมีพัฒนาการโดยทั่วไปควรจะ
เริ่มตั้งแต่อายุครรภ์18 สัปดาห์
ระบบรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
ทารกจะมีการเคลื่อนไหวและได้รับการสัมผัสตลอดเวลาที่อยู่ในครรภ์ โดยเฉพาะขณะที่แม่ขยับตัวหรือลูบและสัมผัสหน้าท้อง
ผิวของทารกจะสัมผัสกับผนังด้านในของมดลูกทุกสัมผัสที่เกิดขึ้นจากแม่จะพัฒนาเส้นใยประสาทของสมองส่วนรับความรู้สึกเพิ่มประสิทธิภาพและความไวในการรับรู้ของทารก เพื่อเตรียมพร้อมให้ใช้งานได้ดีในระยะหลังคลอด
เป็นการสร้างสายใยรักขณะเดียวกันจะเป็นการสร้างความอบอุ่นส่งผลให้เกิดความผูกพันระหว่างแม่ลูก
วิธีการกระตุ้นพัฒนาการทารก
กระตุ้นโดยการสัมผัส
คุณแม่สัมผัสหน้าท้องตัวเองที่ยื่นออกมาทารกสามารถรับรู้ได้เช่นเดียวกับเวลาที่คุณแม่เคลื่อนไหว
จากการทดลองให้คุณแม่ตบที่หน้าท้องเบาๆเวลาที่ลูกในครรภ์ดิ้นมากหรือเตะคุณแม่อาจพูดด้วยเสียงดังฟังชัดไปด้วยว่า
“ก๊อก ก๊อก ก๊อก”
การพัฒนาการได้ยิน
อายุครรภ์24-26 สัปดาห์ขึ้นไป ทารกจะมีการพัฒนาเต็มที่ให้เริ่มกระตุ้นด้วยการใช้เสียง
วิธีการกระตุ้นพัฒนาการทารก
กระตุ้นโดยการใช้เสียง
เปิดเพลงคลาสสิกหรือเพลงที่ฟังสบายๆขณะตั้งครรภ์ผลการศึกษาพบว่าเด็กที่คลอดออกมาจะอารมณ์ดีมีสมาธิดีและชอบเสียงเพลง
เด็กบางคนจะคุ้นกับเพลงที่คุณแม่เปิดซ้าๆตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เมื่อคลอดแล้วเด็กยังจดจำเพลงนั้นได้เมื่อเด็กอารมณ์ไม่ดีคุณแม่เปิดเพลงเดิมให้ฟัง เท่านั้นเด็กก็หยุดร้องทันท
เสียงของคุณแม่หรือคุณพ่อเองสร้างความคุ้นเคยให้ลูกรู้จักพ่อและแม่ของตนตั้งแต่ยังไม่คลอดออกมาครั้นพอลูกคลอดแล้ว ก็จะจ าเสียงแม่ได้ทันทีเป็นการสร้างความอบอุ่นใจและความมั่นใจแก่เด็ก
เด็กที่ได้ฟังดนตรีตั้งแต่อยู่ในครรภ์ มีแนวโน้มที่จะเป็นคนรักเสียงเพลง ตลอดจนมีความสามารถในการเล่นดนตรีได้ดี
กระตุ้นโดยการนั่งเก้าอี้โยก
เมื่อทารกมีอายุครรภ์5 เดือนไปแล้ว ทารกในครรภ์จะมีอวัยวะต่างๆเกือบสมบูรณ์แล้วสมองก็เริ่มขยายตัว การที่เด็กอยู่ในถุงน้าคร่าในท้องแม่จะได้รับกระแสการเคลื่อนไหวของน ้าคร ่ารอบๆตัว เมื่อแม่เคลื่อนไหว
ทารกในครรภ์จะเอนเอียงตามจังหวะของการเคลื่อนไหวของแม่เป็นการพัฒนาทางด้านกล้ามเนื้อ และการทรงตัว ส่งผลให้ทารกพลิกคว่ำและหงายได้เร็ว
กระตุ้นโดยการใช้แสง
ทารกจะเริ่มเรียนรู้เรื่องกลางวันและกลางคืนเพราะในเวลากลางคืน ภายในมดลูกจะมืดสนิทส่วนกลางวันจะมีแสงผ่านเข้าไปได้รวมทั้งมีเสียงและการเคลื่อนไหวของแม
การปฏิสนธิและพัฒนาการของทารก
การปฏิสนธิ
( Fertilization )
หมายถึง
ขบวนการที่มีการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมครึ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นมวลชีวิตขนาด1เซลล์ที่จะเริ่มต้นแบ่งตัวเพิ่มจานวนและจัดรูปเป็นอวัยวะต่างๆต่อไป
Implantation
ไข่ที่ผสมแล้(ตัวอ่อนembryo)จะยื่นส่วนอ่อนนุ่มแทรกลึกลงไปในผนังมดลูกเพื่อสร้างทางติดต่อกับเลือดของแม่ต่อมา
ส่วนนี้จะเจริญเป็นรก
มีการสร้างสายสะดือและถุงน้าคร่าห่อหุ้ม
รก
กำเนิดรก
รกถูกสร้างขึ้นหลังการฝังตัวของไข่ที่ปฏิสนธิแล้ว
รกจะสร้าง Hormoneเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะhCG( Human Chorionic Gonadotropin)ซึ่งสามารถใช้ทดสอบการตั้งครรภ์ได้
กระบวนการเจริญรก
การฝังตัวของตัวอ่อนเกิดหลังปฎิสนธิ(วันที่10)จากการที่หลอดเลือดดำและแดง ของเยื่อบุโพรงมดลูกมีการพัฒนาและแทรกเข้าไปในchorionic villi และ lacuna ซึ่งโครงสร้างเหล่านี้จะรวมตัวกันเป็นรก(placenta) ที่มีเลือดมารดาเข้ามาขังตัวต่อมามีการพัฒนาของหลอดเลือดของตัวอ่อนขึ้นซึ่งจะถูกล้อมรอบด้วยเลือดของมารดา ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนสารอาหาร ออกซิเจน และของเสียระหว่างมารดากับตัวอ่อนหรือทารก
ลักษณะและโครงสร้างของรก
รกมีลักษณะคล้ายจาน ประกอบด้วย villus chorion และ decidua basalis และแบ่งเป็น 2ด้าน คือ 1. รกด้านลูก 2. รกด้านแม่
หน้าที่ของรก
1.กระบวนเมตาบอลิซึม
3.การสร้างฮอร์โมน
4.กรองแยกสารพิษไม่ให้เข้าสู่ทารก
2.การแลกเปลี่ยนสารอาหารก๊าซและของเสีย
กระบวนการปฎิสนธิ
เมื่อน้ำอสุจิเข้ามาสู่ช่องคลอดตัวอสุจิจะพัฒนาหัวเป็นลิ่มและวิ่งเข้าสู่ปากมดลูกและเข้าสู่ท่อนำไข่ จะเกิดขึ้นบริเวณท่อนาไข่บริเวณampulla หลังจากนั้นไข่จะพัฒนาเป็นตัวอ่อนและเดินผ่านทางท่อนาไข่จนมาฝังตัวบริเวณผนังมดลูก ซึ่งขณะเดินทางไข่จะแบ่งตัวแบบไมโตซิสจนเป็นตัวอ่อนที่เรียกว่าmorula ที่มีหลายเซลล์
Zygote
เดินทางในท่อนาไข่ด้วยผลฮอร์โมนestrogen จะกระตุ้นกล้ามเนื้อชั้นcircular ให้หดตัว
ฮอร์โมน progesterone
จะกระตุ้นให้กล้ามเนื้อisthmusคลายตัวเพื่อให้ตัวอ่อนเคลื่อนเข้าสู่โพรงมดลูกได้
ฮอร์โมนestrogen
ทำหน้าเร่งการพัฒนาของตัวอ่อนและช่วยโบกพัดนาพาตัวอ่อนเข้ามาที่โพรงมดลูกซึ่งเกิดขึ้น3-4 วัน หลังการปฏิสนธิ
พัฒนาการของ Embryo
ไข่+Sperm = ZYGOTE
แบ่งเป็น 4 ระยะ
1.CLEAVAGE
เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก
1 –2 –4 –8 ถึง โมรูลา
2.BLASTULA
จนมีช่องว่างเรียกBLASTOCOEL และเรียกเซลล์ที่ล้อมช่องว่างว่า BLASTODERM ลักษณะของตัวอ่อนตอนนี้คล้ายผลน้อยหน่า
3.GASTRULA
เป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะBLASTULAคือเซลล์แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย คล้ายมีผนัง 2 ชั้นคือชั้นนอกและชั้นใน
4.DIFFERENTIATION
คือขบวนการที่เนื้อเยื่อ3ชั้นคือ ชั้นนอกชั้นกลางชั้นในเปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างต่างๆของร่างกายเนื้อเยื่อ3ชั้น
Ectoderm ชั้นนอก
-ผิวหนัง ขน เขา เล็บ เกล็ด กีบเท้าสัตว์
-ระบบประสาท(สมอง,ไขสันหลัง)
-ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง
-สารเคลือบฟัน ต่อมน้ำลาย-ต่อมหมวกไตชั้นในต่อมใต้สมองส่วนท้าย
Mesoderm ชั้นกลาง
-ระบบโครงกระดูกระบบกล้ามเนื้อ
-ระบบหมุนเวียนโลหิต(หัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม)
-ระบบขับถ่าย(ไต)
-ระบบสืบพันธุ์(อัณฑะ รังไข่)
Endoderm ชั้นใน
-ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,กระเพาะอาหาร,ลำไส้,ตับ,ตับอ่อน)
-ระบบหายใจ(หลอดลม,ปอด)
-ต่อมทอนซิลหูส่วนกลางต่อมไทรอยด์-ต่อมพาราไทรอยด์อัลแลนตอยด์ถุงไข่แดก
-กระเพาะปัสสาวะท่อปัสสาวะ
-เซลล์ที่จะเจริญเป็นเซลล์สืบพันธุ์ (primordial germ cell)
ระยะตัวอ่อน
ระยะตัวอ่อน1วัน
ตัวอ่อนระยะเวลา17-20วัน
ตัวอ่อนระยะ28-32วัน
เดือนแรก
ระยะนี้สามารถมอง เห็นตัวอ่อนได้ด้วยตาเปล่า
เดือนที่2
ระยะที่อวัยวะภายในถูกสร้างขึ้นอย่างสมบูรณ์สามารถมองเห็นข้อต่อภายในร่างกาย
เดือนที่3
โครงสร้างของใบหน้าเริ่มสมบูรณ์แต่เปลือกตายังปิดอยู่
เดือนที่4
แขนและข้อต่อต่างๆพัฒนาอย่างสมบูรณ์กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงขึ้น
เดือนที่5
ช่วงนี้ทารกในครรภ์จะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วฟันจะถูกสร้างขึ้นมาแต่จะอยู่ใต้ขากรรไกรเริ่มมีผมบนศีรษะ
เดือนที่6
ทารกในครรภ์จะมีการดูดนิ้วมือเป็นพักๆบางครั้งอาจจะไอหรือมีอาการสะอึกได้
เดือนที่7
สัดส่วนของศีรษะจะดูใหญ่กว่าลาตัวช่วงนี้จะเริ่มมีการสะสมของไขมันใต้ผิวหนังมากขึ้น
เดือนที่8
ทารกจะมีขนาดและสัดส่วนใกล้เคียงกับเด็กแรกเกิดมีความแข็งแรงมากขึ้นในช่วงนี้ทารกจะเริ่มกลับหัวเข้าสู่อุ้งเชิงกราน
เดือนที่9
ระยะนี้ทารกจะโตเร็วมากจนเต็มพื้นที่ในมดลูกการเคลื่อนไหวจะน้อยลงเพราะเนื้อที่ในมดลูกมีจากัดทารกจะอยู่ในท่าที่พร้อมจะคลอด
ลักษณะทารก
ความยาวของทารกในแต่ละอายุครรภ์มีความแปรปรวนได้แต่ความยาวที่วัดจากหัวถึงก้นมีความสัมพันธ์กับอายุครรภ์มากกว่าวัดจากหัวถึงสนเท้าHASSE
ใช้สูตรวัดความยาวหัวถึงสนเท้าดังนี้ อายุครรภ์(GA) น้อยกว่า๕ เดือนจำนวนเดือนยกกำลังสองเดือนมากกว่าห้าคูณด้วยห้าหรืออายุครรภ์มีค่าเท่ากับ6.5 + crown-rumpเซนติเมตร
น้ำหนักของทารกแรกเกิดโดยเฉลี่ย 3000 กรัมผู้ชายมากกว่า=100 กรัมหัวของทารกมีความสำคัญต่อการคลอด
ประกอบด้วยกระดูก frontal 2piece, parietal 2-piece,temporal 2pieceและ occipital 1piece
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
(Factor related pregnancy)
อายุของหญิง 24-35 ปี /อายุของฝ่ายชาย>40 ปีความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ระยะวลาที่แต่งงาน
ปัจจัยทีมีผลต่อการเจริญพันธ์
ลักษณะทางสังคม ประเพณีและวัฒนธรรมความก้าวหน้าทางด้านการแพทย์นโยบายประชากรของประเทศความก้าวหน้าทางด้านการวางแผนครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
(Factor related maternal and child health)
อายุน้อยกว่า15ปีและอายุมากกว่า35 ปี ความพร้อมของครอบครัวจำนวนครั้งในการตั้งครรภ์/ประวัติการคลอดโรคติดต่อทางกรรมพันธุ์/ โรคประจ าตัวลักษณะของหญิงมีครรภ์การศึกษา เศรษฐานะอาชีพ/ การท างานการใช้ยา/สารเคมีความเชื้อ/ การปฏิบัติตัวในระหว่างตั้งครรภ์
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
(Factor related pregnancy)
ข้อมูลส่วนบุคล
อายุ อาชีพ ลักษณะที่อยู่อาศัย สภาพแวดล้อมชุมชน
ประวัติสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
พันธุ์กรรมในครอบครัว การเจ็บป่วยในอดีตการมีโรคประจำตัว การเสพสารเสพติด บริโภคนิสัย และประวัติทางสูติกรรม
การตรวจร่างกาย
น้ำหนักส่วนสูงความดันโลหิต ภาวะซีดต่อมไทรอยด์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและทางคลินิก
ระดับน้ำตาลในเลือด การตรวจหาไข่ขาวและน้ำตาลในปัสสาวะ VDRL Anti HIV หมู่เลือดและความเข็มข้นของเลือดการ
ตรวจครรภ์
สถานบริการ