Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตกเลือดก่อนคลอด, นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 140 ชั้นปีที่ 4 -…
การตกเลือดก่อนคลอด
Ante partum
hemorrhage
มากกว่า 20 สัปดาห์
Placenta previa
รกเกาะต่ำ
คือ รกฝังตัวและเจริญเติบโตใน
ส่วนล่างของมดลูก
อาการ
:check: Bleeding,Painless
:check: มดลูกนุ่ม
:check: คลำทารกได้
:check: ฟัง FHS ได้ชัดเจน
การพยาบาล
ให้นอนพักบนเตียง semi-fowler 20-30 องศา
งด PV, PR สวนอุจจาระ
เจาะ Hb, Hct, กลุ่มเลือด เพื่อเตรียมเลือดทดแทน
งดน้ำและอาหาร, ให้สารน้ำทดแทน
ตรวจสัญญานชีพ โดยเฉพาะชีพจรและความดันโลหิต
สังเกตและบันทึกจำนวนเลือดที่ออก
บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกและติดตามความก้าวหน้า
อันตรายของรกเกาะต่ำ
:check: ช็อคจากการเสียเลือดหรือ
จากการทำสูติหัตถการ
:check: การติดเชื้อ
:check: การคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
:check:อายุมากกว่า 35 ปี
:check: มีบุตรหลายคน
:check: เคยเป็นรกเกาะต่ำมาก่อน
:check: เคยขูดมดลูก
ชนิดของรกเกาะต่ำ
:star: Placenta previa totallis
:star: Placenta previa partialis
:star: Placenta previa marginalis
:star: Low lying Placenta previa
Abruptio placenta
รกลอกตัวก่อนกำหนด
คือ เลือดเซาะคั่งกล้ามเนื้อ
มดลูก มดลูกสีคล้ำหรือ
สีม่วง เรียก Couvelaire
uterusหรือ utero-placental
apoplexy
อาการ
:check: Bleeding,Painless
:check: มดลูกแข็ง เจ็บครรภ์
:check: คลำทารกไม่ได้
:check: ฟัง FHS ไม่ได้
สาเหตุ
:check: Toxemic group
:check: Mechanical group
:check: Dietary group
อาการ
:check: มีเลือดออกทางช่องคลอด
ร่วมกับการเจ็บครรภ์
:check: มดลูกหดตัวแข็งตัวตลอดเวลา
(tetanic)
:check: อาการไม่สัมพันธ์กับเลือดที่ออก
ทางช่องคลอด
:check: เสียงหัวใจทารกผิดปกติ
หรือฟังไม่ได้ ทารกมักตายในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
:check: Shock
:check: Hypofibrinogenemia
:check: Postpatum hemorrhage
:check: Sheehan’ s syndrome
หลักการรักษา
:check: ป้องกันภาวะช็อค
:check: ป้องกันภาวะผิดปกติกลไก
:check: การแข็งตัวของเลือด
:check: ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
-ให้นอนพักบนเตียงโดยนอน
ตะแคงซ้าย
วัดสัญญาณชีพเป็นระยะ NPO
เปิดเส้นให้สารน้ำ
เจาะเลือดส่งตรวจหากลุ่มเลือด
Hb Cloting time Fibrinogen
งดตรวจ PV/PR/ สวนอุจจาระ
สังเกตและบันทึกการหดรัดตัวของ
มดลูกเลือดที่ออก
ดูแลอาการเจ็บครรภ์ รายงานแพทย์เมื่อเจ็บมาก
ให้ออกซิเจน 4 - 5 ลิตร/นาที ให้สารน้ำ
ในอัตราที่เร็วขึ้น
Vasa previa
เลือดปนน้ำคร่ำ
คือ มีการแตกของถุงน้ำคร่ำ
เส้นเลือดฉีกขาด
เลือดออกเป็นเลือด
ในระบบไหลเวียนทารก
อาการ
:check: เลือดปนน้ำคร่ำ
:check: FHS ผิดปกติ
การวินิจฉัย
คือ Apt test เป็นการนำเลือดที่ออก
ผสมกับ 25 % sodium hydroxide
เป็นสีชมพู เลือดทารก
เป็นสีเหลืองปนน้ำตาล เลือดแม่
หลังถุงน้ำแตก
:check: มีเลือดปนน้ำคร่ำ
:check: Fetal distress จากเลือดที่ออกเป็น
เลือดทารกโดยตรง
ก่อนถุงน้ำแตก
:check: คลำพบหลอดเลือดเต้นในจังหวะเดียวกับหัวใจทารก
:check: ส่องตรวจถุงน้ำ amnioscopy เห็นหลอดเลือด
ทอดบนถุงน้ำ
:check: U/S เห็นหลอดเลือดทอดต่ำกว่าส่วนนำ
:check: FHS ผิดปกติ
การรักษา
:check: พบก่อนถุงน้ำแตก ให้ C/S
:check: พบหลังถุงน้ำแตก ต้องให้สิ้นสุดการ
คลอดโดยเร็ว เช่น คีม C/S
:check: หากทารกตาย ให้คลอดทางช่องคลอด
First half bleeding
น้อยกว่า 20 สัปดาห์
Molar pregnancy
ท้องไข่ปลาอุก
Abortion แท้ง
(น้อยกว่า 28 สัปดาห์ขึ้นไป)
Ectopic pregnancy
ท้องนอกมดลูก
นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 140 ชั้นปีที่ 4