Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา, 267d66adbffb1c15da156f691…
มโนทัศน์นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยี
(Technology)
หมายถึง การนำแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการกระบวนการตลอดจน ผลผลิตทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
เทคโนโลยีการศึกษา
(Educational Techonology)
หมายถึง ทฤษฏีและการปฎิบัติเกี่ยวกับการออกแบบ การพัฒนา การใช้การจัดการ การประเมินของกระบวนการ และแหล่งการเรียนรู้ ซึงเทคโนโลยีทางการศึกษามีขอบเขตที่กว้างขว้างอาจครอบคลุมถึงการนำกระบวนการ เทคนิค วิธีการตลอดจนสิ่งประดิษฐ์ มาประยุกต์ใช้กับแหล่งเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิ์ภาพผู้เรียนให้ได้ประโยชน์สูงสุด
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology)
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดหา จัดเก็บ การบันทึก การประมวล ผล และแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ รวมถึงการกระจาย หรือเผยแพร่สารสนเทศนั้นด้วยระบบ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
นวัตกรรม
(Innovation)
สิ่งที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งอาจเป็นเทคโนโลยี ความคิด หรือผลิตภัณฑ์ เป็นต้น.
นวัตกรรมทางการศึกษา
(Educational Innovation)
การนำความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ทั้งวัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องจักรกลไก รวมทั้งเทคนิควิธีการต่างๆ มาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อมุ่งหวังให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการเรียนรู้ต่อผู้ศึกษา
ขอบเขตทางการศึกษา
1) การออกแบบ (design)
ระบบการสอน
แบบสาร
กลยุทธิ์การสอน
ลักษณะผู้เรียน
2) การพัฒนา (development)
เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์
เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีบูรณาการ
3) การใช้ (Utilization)
การใช้สื่อ
การแพร่กระจายนวัตกรรม
วิธีการนำไปใช้ และการจัดการ
นโยบาย หลักการและกฎระเบียบข้อบังคับ
4) การจัดการ (management)
การจัดการโครงการ
การจัดการแหล่งทรัพยากร
การจัดการระบบส่งถ่าย
การจัดการสารสนเทศ
5) การประเมิน (evaluation)
การวิเคราะห์ปัญหา
เกณฑ์การประเมิน
การประเมินความก้าวหน้า
การประเมินผลสรุป
ความเป็นมาและพัฒนาการของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
ความเป็นมาและพัฒนาการของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนาน โดยเริ่มจากสมัยกรีก กลุ่มโซฟิสต์ได้ออกทำการสอนความรู้ต่างๆ ให้กับชนรุ่นเยาว์ ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ที่มีความฉลาดปราดเปรื่องในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก
บิดาแห่งโสตทัศนศึกษา
โจฮัน เอมอส คอมินิอุส (Johannes AmosComenius)
เป็นผู้ที่ใช้วัสดุสิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพเข้ามาช่วยในการสอนอย่างจริงจัง
รวมทั้งแนวคิดในเรื่องวิธีการสอนใหม่ที่ให้ความสำคัญต่อการใช้วัสดุของจริงมาใช้ในการสอนเป็นเวลา 40 ปี
นอกจากนี้ได้แต่งหนังสือที่สำคัญอีกมากมายและที่สำคัญ คือ Obis Sensualium Pictus หรือที่เรียกว่า โลกในรูปภาพ ซึ่งเป็นหนังสือที่มีภาพประกอบบทเรียนต่างๆ
ส่วนประกอบหลักที่สำคัญ
1.คอมพิวเตอร์ด้านการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนได้รับความสนใจตั้งแต่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเนื่องมาจากสาเหตุของความจำเป็นในการฝึกอบรมบุคลากรในกองทัพ และได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในช่วงปี1950-1960 เป็นช่วงที่สำคัญของสาขาวิชาออกแบบการสอน
หลักการพื้นฐานในการออกแบบ
1.คำนึงถึงผู้เรียน
2.คำนึงถึงปัจจัยการเรียนรู้
3.รู้จักประยุกต์ใช้หลักการเรียนการสอนให้เหมาะสม
4.ใช้สื่อและวิธีการที่หลากหลาย
5.มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
6.มีการประเมินผล
7.องค์ประกอบสอดคล้องกับการเรียนรู้
2.คอมพิวเตอร์ด้านสื่อการสอน
การเพื่มปริมาณของซอฟต์แวร์และสามารถจัดหาได้ง่าย โปรแกรม CAI ในรายวิชาต่างๆ ปรากฏมากมาย และซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพเป็นประเด็นที่มีความสำคัญเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ผลิตผลที่นำมาใช้
3.ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอน โดยที่เนื้อหาวิชา แบบฝึกหัด และแบบทดสอบจะถูกพัฒนาขึ้นในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ลักษณะสำคัญของ
บทบาทและความสำคัญของของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
บทบาทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น
สามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน
มีรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง
5.ทำให้ผู้เรียนได้พบกับสภาพความเป็นจริงในชีวิตมากที่สุด
เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ความสำคัญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
1.เพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาบางอย่างที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
3.เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยการผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมา
4.เพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เพิ่มขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง
5.การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษามีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทางการศึกษา
การบริหารจัดการศึกษา
หมายถึงการบริหารจัดการศึกษา มุ่งเน้นความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ยุทธศาสตร์การบริหารเป็นหลัก
บทบาทและความสำคัญ
1.นำมาใช้ช่วยในการตัดสินใจ
2.นำมาใช้ในการบริหารงานของสถานศึกษา
3.นำมาใช้ในการบริหารทางไกล
4.นำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษาที่นำวิธีการใหม่มาใช้แทนวิธีการเดิม
1.ความแตกต่างระหว่างบุคคล
2.ความพร้อม
3.การใช้เวลาเพื่อการศึกษา
4.ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม
นวัตกรรมการศึกษาที่นำวิธีการใหม่มาใช้ เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้
นวัตกรรม มี 5 ประเภท
1.นวัตกรรมด้านหลักสูตร
นวัตกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมสื่อการสอน
นวัตกรรมการ
ประเมินผล
นวัตกรรมการบริหารจัดการ