Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพครอบครัว เรื่อง ครอบครัวที่มีบุตรยาก - Coggle Diagram
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพครอบครัว เรื่อง ครอบครัวที่มีบุตรยาก
ปัจจัยภายใน
ด้านชีววิทยา
อายุ
จากเคสภรรยา อายุ 70 ปี จากงานวิจัยมีผลการวิจัยผู้ที่มีอายุมากกว่า 34 ปี จะมีโอกาสเกิดการตั้งครรภ์ได้ยาก และจะมีโอกาสตั้งครรภ์ลดลงอย่างรวดเร็ว ลดลงอย่างรวดเร็วเมื่ออายุ 40 ปีอีกทั้งอายุที่มากขึ้นยังส่งผลให้ความพร้อมของเยื่อบุโพรงมดลูกในการฝังตัวลดลง
จากเคสสามีอายุ 79 ปี จากงานวิจัยผู้ชายที่อายุมากกว่า 55 ปี การเคลื่อนไหวของอสุจิลดลง 54% ซึ่งเป็นปัจจัยร่วมกับการมีบุตรยาก
เพศ
เพศชาย
การสร้างเชื้ออสุจิที่ผิดปกติ
การขนส่งเชื้ออสุจิผิดปกติ
การมีเพศสัมพันธ์และการหลั่งน้ำเชื้อที่ผิดปกติ
ปัจจัยอื่นๆ เช่น ความร้อน สารเคมี ความเครียดจากการทำงาน โรคประจำตัวทางร่างกายอื่นๆ
เพศหญิง
ความผิดปกติของอุ้งเชิงกรานและหลอดมดลูก
ความผิดปกติของปากมดลูกและมดลูก
ความผิดปกติของช่องคลอด
ความผิดปกติของการสร้างไข่ หรือการตกไข่
จิตวิทยา
อารมณ์และบุคลิกภาพ
จากเคส ผู้ป่วยเพศหญิงรู้สึกสิ้นหวังกับการมีลูกจากการทำ IVF มาทั้งสองครั้ง
จากเคสผู้ป่วยเกิดภาวะเครียดและความกังวลจากการถูกคนในครอบครัวมองด้วยสายตาดูถูกที่ไม่สามารถมีบุตรได้ ซึ่งจากงานวิจัยความเครียดทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากได้ เนื่องจากทำให้เกิดความผิดปกติในระบบสืบพันธ์ การทำงานของรังไข่ผิดปกติ เช่น ไม่มีการตกไข่ ทำให้ไม่มีประจำเดือน ส่งผลต่อการเกิดภาวะมีบุตรยาก
ความเชื่อ ทัศนคติ
จากเคส ประเทศอินเดียการมีบุตรยากถูกมองว่าเป็นคำสาป
ด้านจิตวิญญาณ
จากเคส การตั้งครรภ์ครั้งนี้เกิดจากพระเจ้าได้ยินคำวิงวอน
บทบาทหน้าที่ของครอบครัวทางด้านสุขภาพ
จากเคส สามีและภรรยาได้พยายามให้ภรรยาตั้งครรภ์ด้วยวิธีธรรมชาติและทำ IVF มา2 ครั้ง แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ
ความสัมพันธ์ของครอบครัว
จากเคสการมีบุตรยาก ทำให้ครอบครัวมองด้วยสายตาดูถูก
ปัจจัยภายนอก
ระบบบริการสุขภาพ
จากเคส ได้รับบริการจากระบบสุขภาพ ทำ IVF 2ครั้ง แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งจากงานวิจัยอัตราการสำเร็จของการทำ IVF อยู่ที่ประมาณ 41-43% ในผู้ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี แต่ในผู้ที่อายุ 40 ปีขึ้นไป จะเหลือเพียง 13-18%