Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ, เทคนิคการแยก…
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อ Infection
โรคติดเชื้อ Infectious disease
โรคติดต่อ Communicable disaese
แหล่งของเชื้อโรค
-เป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
ทางออกของเชื้อโรคในการแพร่กระจาย
-เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายไปยังบุคคลอื่นได้ออกจากแหล่งของมันก่อน
สิ่งนำเชื้อ
-เชื้อโรคแพร่กระจายได้จำเป็นต้องมีพาหนะในการนำเชื้อ
อากาศ,อาหารและน้ำ,สัมผัสดเยตรงกับคน,วัตถุต่างๆ,แมลงและสัตว์
วิธีแพร่กระจายเชื้อ
Air bone transmission
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่อากาศเข้าสู้ระบบทางเดินหายใจ
Contract transmission
-Direct contact
-Indirect contract
Droplet spread
Common Vehicle
เป็นการแพร่กระจายเชื้อ จากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ยา สารน้ำให้แก่ผู้ป่วย
vectorborne transmission
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นำโรค
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล Nosocomial infection
การติดเชื้อที่เกิดจากการได้รับเชื้อขณะรักษาตัว มักเกิดขึ้นภายใน48-72 ชั่วโมง เมื่อรับการรักษาในโรงพยาบาล
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
ภาวะปลอดเชื้อหรทอกีดกั้นเชื้อ (Aseptic) คือการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อที่จะเกิดขึ้น
เทคนิคปลอดเชื่อ (Aseptic technique)
การกีดกั้นเชื้อแบบไม่เคร่งคัด (Medical aseptic)
เทคนิคการทำให้ะอาด (clean technique)
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีแยกเฉพาะ (Isolation technique)
การกีดกั้นเชื้อแบบเค่งคัด (Surgical aseptic)
เทคนิคปราศจากเชื้อ (Sterile technique)
เครื่องมือเครื่องใช้ปราศเชื้อ (sterile)
การฆ่าเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ
critical items : เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมผัสกับเยื่อบุ ก่อนใช้ต้องให้ปราศจากจากเชื้อ
semi critical or intermadiate items : เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมผัสเยื่อบุ ก่อนใช้ต้องสะอาดไม่มีเชื้อโรค ยกเว้นสปอรืแบคทีเรีย
non critical items : เครื่องมือที่สัมผัสกับผิวกายภายนอก ไม่ได้สัมผัสกับเยื่อบุต่างๆของร่างกาย ก่อนใช้ต่องสะอาด
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง (Cleaning)
การล้างเป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญที่สุดสำหรับการทำลายเชื้อ
การล้างที่ถูกต้องสามารถขจัดจุลชีพออกจากวัสดุเกือบทั้งหมด และเพียงพอสำหรับการทำลายเชื่อสำหรับเครื่องใช้ดดยทั่วไป
การต้ม (Boiling)
การต้มเป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดี ง่าย ประหยัด มีประสิทะิภาพดีต้องต้มเดือดนาน10นาที สำหรับเชื้อโรคอันตราย WHO แนะนำให้เดือดนาน20นาที
เครื่องใช้ที่ไม่ควรต้มได้แก่ เครื่องใช้ที่ทำมาจากยาง และของมีคม
การใช้สารเคมี (Chemical method)
-Disinfectant
-Antiseptics
การทำให้ปราศจากเชื้อ
-วิธีทางกายภาพ
-วิธีทางเคมี
การปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การล้างมือ Hand Washing
การล้างมือเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการลดการติดเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสโดยตรง การล้างมือควรทำก่อนและหลังการพยาบาลผู้ป่วย
ถุงมือปลอดเชื้อ sterile gloves
1.หยิบจับของปลอดเชื้อ
2.ทำหัตถการต่างๆ
3.ป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
การใช้ผ้าปิดปากขจมูก Mask
ช่วยป้องกันการได้รับเชื้อโรคจากผู้ป่วยเข้าสู้ระบบทางเดินหายใจ
การใส่เสื้อกาวน์ Gown
การป้องกันการติดเชื้อแบบมาตรฐาน Standard precaution
1.การมีสุขภิบาลและสุขอนามัยที่ดี sanitation and hygiene
2.เครื่องป้องกัน protection barriers
3.หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ avoid accidents
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
Contract Precautions
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
สวมถุงมือทุกครั้งเมื่อสัมผัสผู้ป่วยและญาติ
ล้างมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือ
Droplet Precaution
แยกผู้ป่วยไว้ห้องแยก
ใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดN95
ใช้ถุงมือแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
ล้างมือแบบhygienic handwashing
ให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกแบบธรรมดาตลอดเวลา ยกเว้นเวลารับประทานอาหารและแปรงฟัน
Air bone Precaution
แยกผู้ป่วยไว้ห้องแยก
ใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดN95
ใช้ถุงมือแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
ล้างมือแบบhygienic handwashing
ให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกแบบธรรมดาตลอดเวลา ยกเว้นเวลารับประทานอาหารและแปรงฟัน
เทคนิคการแยก (Isolation Technique)
คือ วิธีในการแยกผู้ป่วยเพื่อจำกัดการแพร่กระจายของเชื้อ
จุดประสงค์ในการแยกผู้ป่วย
ป้องกันการแพร่กระจายโรคติดต่อ
ป้องกันการติดโรคจากผู้ป่วย
ป้องกันการซ้ำโรคในผู้ป่วยที่มีที่มีความต้านทานต่ำ
เพื่อทำลายเชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรค
การแยกผู้ป่วย7แบบ
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ
การแยกผู้ป่วยที่เป็นดรคระบบทางเดินอาหาร
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางบาดแผลและผิวหนัง
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงและติดต่อง่าย
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางเลือด และน้ำเหลือง
การแยกผู้ป่วยในรายที่สงสัยว่าเป็นโรคติดต่อ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง