Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเกี่ยวกับ
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
ภาวะปลอดเชื้อหรือการกีดกั้นเชื้อ
การปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่จะเกิดกับ เครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ในการควบคุมการติดเชื้อลดแหล่งของเชื้อโรคและการแพร่กระจายเชื้อ
วงจรของการติดเชื้อ
ทางเข้าของเชื้อที่ทำให้เกิดโรค
ดวงตา
จมูก
ปาก
การกินอาหารที่ปนเปื้อน
ทางบาดแผล
การสัมผัสสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย
ทางออกของเชื้อโรคในการแพร่กระจาย
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
ทางเดินปัสสาวะ
อวัยวะสืบพันธุ์
เลือด
ผิวหนัง
ความไวของแต่ละบุคคลในการรับการติดเชื้อ
ความเครียด
ภาวะโภชนาการ
ความอ่อนเพลีย
ภูมิแพ้
จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
แหล่งของเชื้อโรค
สิ่งนำเชื้อ
อากาศ
สัมผัสโยงตรงกับคน
แมลงและสัตว์
บุคคลที่มีเชื้อโรคนั้นเอง
วัตถุต่างๆ
อาหารและน้ำ
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง
ขั้นแรกที่สำคัญที่สุดสำหรับการทำลายเขื้อ
เพื่อลดจำนวนเชื้อโรคบนเครื่องมือให้เหลือปริมาณน้อยที่สุด
เพื่อเป็นการลดสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยู่บนผิวของเครื่องมือ
ความสกปรกที่ติดแน่นบางอย่าง ไม่สามารถจะหลุดได้
ช่วยลดอันตรายในการหยิบจับอุปกรณ์ของเจ้าหน้าที่เบื้องต้น
ข้อควรคำนึงในการล้าง
กำจัดเลือด หนอง เมือก สารคัดหลั่งออกก่อนทำความสะอาด
ไม่ทำให้อุปกรณ์ เครื่องใช้ชำรุดเสียหาย
ไม่ทำให้อุปกรณ์เครื่องใช้สกปรกมากกว่าเดิม
ไม่ควรมีสารตกค้างหลงเหลืออยู่
การต้ม
วิธีนี้ใช้ง่ายและประหยัด
ต้มเดือด10 นาที ใช้อุณหภูมิ 100 °C
ทำลายไวรัสและจุลินทรีย์ที่มีสปอร์ได้ยาก
ต้มเดือดนาน 20 นาที ทำลายเชื้อโรคที่อันตราย มีประสิทธิภาพที่เชื่อถือได้
เครื่องใช้ที่ทำจากยางและของมีคม ไม่ควรต้ม
การใช้สารเคมี
ยาระงับเชื้อ (Antiseptic)
น้ำยาที่ใช้ในการทำลายเชื้อ
อัลดีฮัยด์ (Aldehydes)
ทำลายเชื้อรา และไวรัสได้ในเวลา 10 นาที
ทำลายสปอร์ของแบคทีเรียได้ใน 10 ชั่วโมง
ไดกัวไนด์(Diguanide)
สารที่ใช้ : chlorhexidine
ความเข้มข้นต่ำกว่า 0.2% ไม่ทำลายสปอร์ของแบคทีเรีย
แอลกอฮอล์ (Alcohols)
ทำลายเชื้อได้ดีแต่ไม่สามารทำลายสปอร์
อาจทำให้เครื่องมือโลหะเกิดสนิม
ฮาโลเจน (Halogens)
ทำลายเขื้อโรคได้ต่างตามความเข้มข้นของน้ำยา
ห้ามผสมกับกรดและฟอร์มาลิน
ฮัยโดเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide)
ทำลายเชื้อโรคไวรัส ใช้Hydrogen peroxide 6% นาน 30นาที
น้ำยาที่ฟีนอล (Phenols)
ยกเว้นเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและสปอร์ของแบคทีเรีย
ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อวัณโรค เชื้อรา
ยาล้างเชื้อ (Disinfectant)
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีการทางกายภาพ
การใช้ความร้อนแห้ง
(Dry heat hot air sterilization)
เหมาะสำหรับเครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นของมีคม เครื่องแก้ว
อุณหภูมิ 165-170 °C อย่างน้อย 3 ชั่วโมง
การอบไอน้ำภายใต้ความกดดัน
(Steam under pressure)
วิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เชื่อถือได้ ประหยัดค่าใช้จ่าย
ใช้เครื่องมือที่เรียกเครื่องนึ่งอัด( Autoclave)
วิธีนี้ไม่เหมาะสำหรับเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทนความร้อนสูงไม่ได้
การใช้แสงสี (Radiation)
ไม่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและHIV
ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ไวรัสบางชนิด
ใช้แสงอัลตราไวโอเลตซึ่งเป็นแสงสีม่วง
เชื้อวัณโรคถูกแสงแดดจะถูกทำลายภายใน1-2ชั่วโมง
วิธีทางเคมี
การใช้ 2 % Glutaraldehyde
ทำลายเชื้อและสปอร์ของแบคทีเรีย
ไม่ทำลายยางหรือพลาสติก
ไม่ทำให้เกิดสนิมใช้แช่เครื่องมือเครื่องใช้
การใช้ Peracetic Acid
ส่วนผสมระหว่าง acetic acid กับ hydrogen peroxide
มีคุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง
เครื่องมือเครื่องใช้ที่แช่ใน Peracetic Acid เพื่อทำให้ปลอดเชื้อ
จะต้องใช้เวลารวดเร็วคือ 35-40 นาที ที่อุณหภูมิ 50-55 °C
ต้องล้างน้ำยาออกให้หมดและทำให้แห้ง
การใช้ก๊าซ Ethylene oxide
เครื่องมือเครื่องใช้อบก๊าซไว้ที่อุณหภูมิ 30 °C นาน 3 ชั่วโมง
ทำลายได้ทั้งไวรัส แบคทีเรียรวมทั้งสปอร์ของแบคทีเรีย
มีคุณสมบัติทำลายเชื้อสูง
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ปลอดเชื้อจากการอบก๊าซนี้จะต้องเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 5 วัน หรือใช้เวลา 8 ชั่วโมงภายใต้อุณหภูมิ 120 °C
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
Vectorborne transmission
การแพร่กระจายเชื้อโดยแมลงหรือสัตว์นำโรค
Common Vehicle transmission
การแพร่กระจายเชื้อจากการที่มีเชื้อจุลชีพ ปนเปื้อนอยู่ในเลือด
ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ยา สารน้ำที่ให้แก่ผู้ป่วย
Air bone transmission การแพร่กระจายเชื้อโดย
การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศ
Contact transmission
Indirect contact เป็นการสัมผัสสิ่งของหรืออุปกรณ์
Droplet spread เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละออง น้ำมูก น้ำลาย
Direct contact เป็นการแพร่กระจายเชื้อจากคนสู่คน
เทคนิคปลอดเชื้อ
วิธีการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่จะเกิดขึ้นกับเครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม
การกีดกันเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด
การกีดกั้นเชื้อชนิดเคร่งครัด
เทคนิคปราศจากเชื้อ
วิธีการปฏิบัติเพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้ปราศจากเชื้อ
หลีกเลี่ยงการปนเปื้อน
การกีดกันเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด
เทคนิคการทำให้สะอาด
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ
การกีดกันเชื้อชนิดเคร่งครัด
เทคนิคการทำให้สะอาด
การใช้ปากคีบที่ทำให้ไร้เชื้อ หยิบเครื่องมือเครื่องใช้ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
การฆ่าเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ต้องปราศจากเชื้อ (Critical items)
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ต้องฆ่าเชื้อ (Semi-critical items)
เครื่องมือที่สัมผัสกับผิวหนังภายอก (Non-critical items)
เทคนิคปราศจากเชื้อ
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
วางห่อของบนโต๊ะสะอาดสูงระดับเอว มุมนอกสุดของห่อของอยู่ไกลตัว
มือจับมุมผ้าด้านนอกสุดคลี่ออก
สำรวจป้ายชื่อห่อของและตรวจสอบความปราศจากเชื้อจาก Autoclave tape
เปิดมุมผ้าด้านข้างออกทีละด้าน แล้วเปิดมุมผ้าด้านในที่สุด
การหยิบของในหม้อนึ่ง
ถ้าต้องการจะวางกับโต๊ะให้หงายฝาขึ้น ถ้าถือไว้ให้คว่ำฝาลง
ห้ามเอื้อมข้ามของ sterileที่เปิดฝาไว้และห้ามจับด้านในของฝา
การใช้ปากคีบปราศจากเชื้อ (forceps)
จับด้านบนของปากคีบปราศจากเชื้อออกจากภาชนะตรงๆ บีบให้ปลายปากคีบปราศจากเชื้อชิดกัน
ให้ถือปากคีบปราศจากเชื้อในลักษณะปลายชี้ลงด้านล่าง และปากคีบปราศจากเชื้อต้องอยู่ในสายตาตลอดเวลา
หลักพื้นฐานของภาวะปราศจากเชื้อ
ของปลอดเชื้อต้องไม่สัมผัสกับสิ่งที่ไม่ปลอดเชื้อ
หากหยิบจับของปลอดเชื้อด้วยมือ หรืออุปกรณ์ที่ไม่ปลอดเชื้อถือว่าเกิดการปนเปื้อน
ไม่ควรใช้ปากคีบหยิบบริเวณขอบของภาชนะ หรือใช้ปากคีบเปิดผ้าห่อของปลอดเชื้อ
ไม่ใช้ปากคีบที่ไม่ปลอดเชื้อหรือผ่านการใช้งานแล้วหยิบของปลอดเชื้อ
ห่อของปลอดเชื้อที่เปิดใช้แล้ว แสดงว่าเกิดการปนเปื้อน
ดูแลให้ของปลอดเชื้ อสัมผัสกับอากาศน้อยที่สุด เปิดใช้ต้องรีบปิดทันที
ของปลอดเชื้อที่มีรอยฉีกขาด รอยเปิดสัมผัสกับภายนอก ถือว่าไม่ปลอดเชื้อ
ของปลอดเชื้อต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวและอยู่ในสายตา
เมื่อเปิดของปลอดเชื้อแล้วไม่ละทิ้งหรือหันหลังให้ของปลอดเชื้อ
หากเกิดความสงสัย ไม่มั่นใจเกี่ยวกับความปลอดเชื้อกับของ ให้เปลี่ยนใหม่ทันที
เพื่อแน่ใจว่าของปลอดเชื้อนั้นอยู่ในสายตา ลดโอกาสเกิดการปนเปื้อน
ดูแลให้ของปลอดเชื้อนั้นคงความปลอดเชื้อ
การเทน้ำยาปลอดเชื้อให้ถือขวดน้ำยาสูงกว่าภาชนะปลอดเชื้อประมาณ 6 นิ้ว
หลีกเลี่ยงการพูดคุย ไอ จาม หรือข้ามกรายของปลอดเชื้อ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ทุกชนิดที่จะสอด/ ใส่ผ่านผิวหนังเข้าไปในร่างกายผู้ป่วยจะต้องปลอดเชื้อ
ปากคีบปลอดเชื้อต้องสะอาดและคงความปลอดเชื้อตลอดเวลา
หลีกเลี่ยงการทำน้ำยาหกเปื้อนผ้าห่อของปลอดเชื้อ
การวางของให้วางจากขอบนอกของภาชนะถัดเข้ามาประมาณ 1 นิ้ว
การปฎิบัติในการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การล้างมือ
การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล
การล้างมือก่อนปฎิบัติการพยาบาลที่ใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและภายหลัง
การล้างมือแบบธรรมดา
การใส่ถุงมือ
ถุงมือปลอดเชื้อ
ป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ทำหัตถการต่างๆ
ถุงมือสะอาดหรือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง
เมื่อต้องการเคลื่อนย้ายเครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ป่วยที่ผ่านการใช้งานแล้ว
ป้องกันสิ้งสกปรกสัมผัสมือ
การใช้ผ้าปิดปาก-จมูก
ระยะเวลาในการใช้ไม่ควรเกิน20-30นาที
การใส่เสื้อกาวน์
กรณีถ้าเปื้อนหรือเปียกให้เปลี่ยนทันที ระวังการปนเปื้อนดานนอกของเสื้อคลุม
การป้องกันการติดเชื้อแบบมาตรฐาน
เครื่องป้องกัน
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
การมีสุขาภิบาลและสุขอนามัยที่ดี
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อที่แพร่กระจายได้ทางละอองในอากาศ
ผู้ป่วยสวมผ้าปิดปากและจมูกชนิด N95
สวมถุงมือชนิดใช้้ครั้งเดียวทิ้ง ทุกครั้งที่สัมผัสผู้ป่วย
การติดเชื้อที่แพร่กระจายทางอากาศ
สวมถุงมือชนิดใช้้ครั้งเดียวทิ้ง ทุกครั้งที่สัมผัสผู้ป่วย
ผู้ป่วยสวมผ้าปิดปากและจมูกชนิด N95
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกพิเศษ
การติดเชื้อที่แพร่กระจายได้จากการสัมผัส
โดยให้แยกผู้ป่วยอยู่ห้องแยก
สวมถุงมือทุกครั้ง
ล้างมือแบบ hygienic handwashing
การแยกผู้ป่วย
โรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร
โรคติดต่อทางระบบทางบาดแผลและผิวหนัง
โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ
โรคติดต่อร้ายแรงและติดต่อง่าย
โรคติดต่อทางเลือดและน้ำเหลือง
สงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
(Isolation Technique)
จุดประสงค์
ป้องกันการติดโรคจากผู้ป่วย
ป้องกันการซ้ำเติมโรคในผู้ป่วยที่มีความต้านทานต่ำ
ป้องกันการแพร่กระจายโรคติดต่อ
เพื่อทำลายเชื้อโรคซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดโรค