Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่ม 3.2 - Coggle Diagram
กลุ่ม 3.2
ผู้ป่วยมีอาการทางจิตใด
การแสดงออก/การเคลื่อนไหว (Motor activity) แบบ Agitation มีการแสดงออกของพฤติกรรมที่มากเกินความเป็นจริง
ความคิด (Thoughts process) แบบเนื้อหาความคิด Content ผิดปกติ ซึ่งแสดงออกด้วยการหลงผิดแบบ Feelings of reference. คือ สิ่งต่างๆเกี่ยวข้องกับตนเอง
-
-
การวินิจฉัยโรค
-F15.25-Orther stimulants including caffeine, Psychotic disorder
-F15.25-Orther stimulants including caffeine, Dependence syndrome, Continuous use
ระยะฟื้นฟูสภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
O:-วันที่ 7 ผู้ป่วยตื่นมากขึ้น จัดการกิจวัตรได้เอง ปฏิบัติหน้าที่ของตนที่ต้องรับผิดชอบให้ตึกผู้ป่วยได้ เริ่มพูดถึงเรื่อง สาเหตุการกลับไปเสพ บอกว่าตนไม่รู้จะเลิกได้หรือไม่กลัวเลิกไม่ได้ลองพยายามหลายครั้งแล้ว ถ้าเลิกไม่ได้จะเป็นอะไรหรือไม่
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
-
-
3.ผู้ป่วยแสดงออกด้านพฤติกรรม ต่อการมุ่งมั่นในการบำบัดสารเสพติด เช่น มีความกระตือรือร้นในการเข้ากลุ่มบำบัดทุกครั้ง
กิจกรรมการพยาบาล
- พยาบาลสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ โดยแสดงความเห็นอกเห็นใจ เข้าใจ รับฟังผู้ป่วยยอย่างตั้งใจ ด้วยท่าทีที่เป็นมิตร อบอุ่น
- ให้ข้อมูลทำให้ผู้ป่วยมองเห็นถึงความขัดแย้งที่มีอยู่ในตนเอง เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจูงใจผู้ป่วยโดยให้รับรู้ว่า พฤติกรรมในปัจจุบันเป็นอุปสรรคอย่างไรกับเป้ าหมายในชีวิต
- พูดคุยให้ผู้ป่วยได้สำรวจถึงผลดีผลเสียที่ตามมาจากพฤติกรรมของเขาเน้นให้ทราบว่าเขาคือ ผู้ที่รับผิดชอบต่อพฤติกรรมตนเอง
- หลีกเลี่ยงการขัดแย้งกับผู้ป่วย ซึ่งในช่วงแรกนี้ผู้ป่วยยังมีความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมของตนเอง
- ให้ข้อมูล ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสาเหตุการติดยา แนวทางในการบำบัดรักษา วิธีการที่จะหยุดใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
6.ดูแลให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มบำบัดสารเสพติดที่เหมาะสม เช่น Matrix Program , CBT
การประเมินผล ผู้ป่วยบอกถึงแรงจูงใจต่อการบำบัดสารเสพติด ร่วมมือบำบัดและเข้าร่วมกลุ่มบำบัดได้มีการแสดงออกด้านพฤติกรรม ต่อการมุ่งมั่นในการบำบัดสารเสพติด เช่น มีความกระตือรือร้นในการเข้ากลุ่มบำบัดทุกครั้ง
-
-
-