Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน - Coggle Diagram
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การอภิปราย (Discussion)
หมายถึง
การพูด การสนทนาเพื่อเสนอความรู้หรือแลกเปลี่ยนความรู้ และความคิดเห็น ในกลุ่มบุคคลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะ
การอภิปรายหมู่
การระดมพลังสมอง
การโต้วาที
การอภิปรายแบบสองกลุ่มใหญ่
ประโยชน์
ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความคิด
ผู้เรียนได้ทำงานเป็นกลุ่ม มีการกำหนดหน้าที่
ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมนอกห้องเรียน
เป็นวิธีการพัฒนาเจตคติความมีเหตุผล การพูด การฟัง
โอกาสที่ควรใช้
ใช้ในการรายงานผล
เมื่อต้องการให้วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น
เพื่อสรุปกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว
ข้อเสนอแนะ
ครูต้องค่อย ๆ ฝึกไปทีละเล็ก
ละน้อ
เลือกรูปลักษณะของการอภิปรายที่เหมาะสม
ให้เวลาผู้เรียน ไปศึกษาค้นคว้ามาก่อน
ใช้ประสบการณ์ ความคิดเห็นมาตอบก็สามารถจัดอภิปรายได้ทันที
ที่คอยแนะ และกระตุ้นให้ทุกคนกล้าแสดงความคิดเห็น
จัดสถานที่ให้เหมาะสมกับการอภิปรายแต่ละลักษณะ
วิธีแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม (Activity Method)
ข้อควรพิจารณา
การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม
จำนวนผู้เรียนในกลุ่ม
จำนวนกลุ่มในแต่ละเรื่อง
กระบวนการทำงานกลุ่ม
ตำแหน่งหน้าที่ในกลุ่ม
ที่นั่งในกลุ่ม
การกำหนดงานให้กลุ่มทำ มีกิจกรรมหลายอย่าง
การประเมินผลการทำงานของกลุ่ม
ประโยชน์ของการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
สร้างเสริมนิสัยที่ดี การทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ และความสามัคคี
สร้างเสริมการอยู่ร่วมกันแบบประชาธิปไตย
ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ฝึกการใช้ความคิด การแสดงออกและแก้ปัญหาต่าง ๆ
การสาธิต (Demonstration)
ลักษณะ
การสาธิตให้ดูพร้อมกันทั้งชั้น
การสาธิตให้ดูเป็นกลุ่ม
การสาธิตให้ดูเป็นรายบุคคล
วิธีดำเนินการ
ขั้นสาธิต
ขั้นสรุป
ขั้นเตรียมการ
โอกาสที่ควรใช้การสาธิต
เข้าใจยากไม่อาจอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย
ครูควรเป็นผู้แสดงให้เห็นด้วยตนเอง
เมื่อมีอุปกรณ์การสอนไม่พอเพียง
มื่อมีเวลาน้อย
เมื่อต้องการให้ผู้เรียนได้สังเกต
การบรรยาย (Lecture)
หมายถึง
เป็นการพูด การเล่า หรือการบรรยายเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้ผู้เรียน ฟังเป็นการถ่ายทอดเนื้อหาหรือประสบการณ์แก่ผู้เรียน
ลักษณะ
การบรรยายโดยใช้สื่อประกอบแบบต่าง ๆ
การบรรยายที่มีตัวอย่างประกอบ
การบรรยายที่ใช้หนังสือประกอบเป็นตอนสั้น ๆ
ารบรรยายแบบเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามหรือแสดงความคิดเห็น
การบรรยายประกอบการสาธิต
การบรรยายที่เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมอื่น ๆ
ลักษณะการบรรยายที่ดี
มีเอกสารประกอบการบรรยาย
มีสื่อประกอบการบรรยาย
ควรให้ผู้เรียนทราบจุดประสงค์ของการเรียน
ัดเนื้อหาให้พอเหมาะกับเวลาที่จะใช้สอน
ครูควรสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
ครูควรบรรยายด้วยน้ำเสียงชัดเจน
วิธีดำเนินการบรรยาย
ขั้นเตรียมการ
ครูกำหนดจุดประสงค์ของการสอน
ขั้นการบรรยาย
กิจกรรมนำเข้าสู่
ขั้นสรุป
สรุปมีแนวทางปฏิบัติได้หลากหลาย
โอกาส
เพื่อแนะนำหรือเสนอเนื้อหาบทเรียนใหม่
เพื่อประหยัดเวลาในการทดลองหรือค้นคว้า
เพื่อสรุปหลักเกณฑ์และความคิดรวบยอดที่สำคัญ
เพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียน
เมื่อต้องการปูพื้นฐานให้ผู้เรียนไปค้นคว้า อ่านหนังสือ หรือทำงานเพิ่มเติม
การทดลองปฏิบัติ
(Laboratory Method)
จุดมุ่งหมาย
เพื่อการเรียนรู้หลักการพื้นฐานที่สำคัญ
เพื่อฝึกทักษะ
เพื่อขยายความรู้หลักการ
เพื่อรวบรวมข้อมูลและแปลความ
ลักษณะ
การทดลองปฏิบัติเป็นรายบุคคล
การทดลองปฏิบัติเป็นกลุ่ม
วิธีดำเนินการ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นทดลองปฏิบัติ
ขั้นสรุปและประเมิน
โอกาสที่ควรใช้การทดลองปฏิบัติ
ู้เรียนสามารถทำได้เองโดยไม่เกิดอันตราย
มีอุปกรณ์และเครื่องมือเพียงพอสำหรับให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ
เมื่อผู้เรียนมีทักษะในการใช้เครื่องมือ และมีระเบียบวินัยดี
เมื่อบทเรียนนั้นจำเป็นจะต้องให้ผู้เรียนปฏิบัติด้วยตนเอง
6.วิธีการแบบอุปมาน (Inductive Method)
วิธีดำเนินการแบบอุปมาน
ขั้นเตรียม เป็นขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
ขั้นแสดงหรือขั้นสอน
ขั้นเปรียบเทียบ
ขั้นสรุป
โอกาสที่ควรใช้วิธีการแบบอุปมาน
เมื่อบทเรียนที่เกี่ยวกับหลักการ หรือข้อสรุปนั้นไม่ยากเกินไป
เมื่อมีการทดลองง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ผู้เรียนสามารถสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง การทดลองได้ด้วยตนเอง
เมื่อหลักการ กฎเกณฑ์ หรือข้อสรุป ที่ผู้เรียนจะค้นพบนั้นมีคุณค่าสำคัญที่จะใช้ต่อไป
ประโยชน์ของการใช้วิธีการแบบอุปมาน
ช่วยให้ผู้เรียนค้นพบข้อเท็จจริง หลักการ กฎเกณฑ์ ด้วยการสังเกต
ทำให้ผู้เรียนเข้าใจความหมาย และความสัมพันธ์ระหว่างความคิดรวบยอดชัดเจนขึ้น
กระบวนการคิดแบบอุปมานช่วยให้ผู้เรียนค้นพบด้วยตนเอง
การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing)
รูปลักษณะของการแสดงบทบาทสมมุติ
การแสดงแบบเตรียมบทมาแล้ว
การแสดงโดยทันทีทันใด
การแสดงโดยกำหนดสถานการณ์ให้ เป็นการผสมผสานระหว่างแบบที่ 1 และ 2
เทคนิคและวิธีการในการแสดงบทบาทสมมุติ
การแลกเปลี่ยนบทบาท (Role Reverse)
การแสดงโดยมีลูกคู่ (Doubling
การแสดงบทบาทที่มีลูกคู่มากกว่า 1 คน (Mass Doubling)
การแสดงบทบาทผสม (Multi – role Playing)
การหมุนเวียนบทบาท (Role Rotation)
หลายวิธี เพื่อนำมาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ และสรุปปัญหานั้น ๆ
การแสดงบทบาทสองบทบาท (Monodrama)
วิธีดำเนินการแสดงบทบาทสมมุติ
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ
ขั้นที่ 2 ขั้นแสดง
ขั้นที่ 3 ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผล
ขั้นที่ 4 ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป
ประโยชน์ของการแสดงบทบาทสมมุติ
เรียนรู้และเข้าใจสาเหตุของพฤติกรรมจากบทบาทการแสดงและหาแนวทาง การแก้ไขปัญหา
เรียนรู้ และเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น จากการแสดงบทบาทเป็นบุคคลอื่น ๆ
ช่วยส่งเสริม ให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก รู้จักตัดสินใจ กล้าคัดค้านเมื่อจำเป็น
ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกการปฏิบัติตนให้ถูกต้องเหมาะสมในบทบาทต่าง ๆ
ช่วยให้ครูเข้าใจผู้เรียน จากบทบาทการแสดง และอาจหาทางช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
5.การแก้ปัญหา (Problem Solving)
ขั้นตอนของวิธีการ
กำหนดขอบเขตของปัญหา
ตั้งสมมุติฐานการแก้ปัญหา
ทดลองและรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผล
บทบาทของครูในการสอนแบบแก้ปัญหา
เสนอปัญหาที่จะนำไปสู่การเรียนการสอน
ดูแลกระบวนการทำงานของกลุ่มหรือรายบุคคลให้ดำเนินไปด้วยดี
สร้างบรรยากาศของชั้นเรียนให้เป็นประชาธิปไตย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีกำลังใจในการแก้ปัญหาไม่ลังเลที่จะแสดงความคิดเห็น
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีกำลังใจในการแก้ปัญหาไม่ลังเลที่จะแสดงความคิดเห็น
วิธีการแบบอนุมาน (Deductive Method)
วิธีดำเนินการแบบอนุมาน
ขั้นเตรียม เป็นการเตรียมบทเรียน
ขั้นแสดงหลักการ หรืออธิบายหลักการ
ขั้นอธิบายหรือยกตัวอย่าง
ขั้นตรวจสอบ หรือขั้นนำไปใช้
ประโยชน์ของวิธีการแบบอนุมาน
ผู้เรียนได้ทราบหลักการก่อนล่วงหน้า
ให้โอกาสผู้เรียนที่จะพิสูจน์หลักการต่าง ๆ ก่อนจะยอมรับ
ช่วยประหยัดเวลาการสอน
โอกาสที่ควรใช้วิธีการแบบอนุมาน
เมื่อบทเรียนยาก ครูคิดว่าตัวอย่างต่าง ๆ ที่จะยกมาแสดงก่อนสรุปนั้นไม่อาจช่วยให้ผู้เรียนสรุปหลักการได้เอง
เมื่อมีการทดลองที่ยุ่งยากซับซ้อน ครูจำเป็นจะต้องบอกผลการทดลองให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้า
เมื่อต้องการประหยัดเวลาการสอน