Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 - Coggle Diagram
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579
จุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษา
4.เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำภายในประเทศลดลง
3.เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่
การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ
1.เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์
3.การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
4.การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
2.การผลิตและการพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
5.การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1.การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
6.การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
เป้าหมาย
3.1. เป้าหมายด้านผู้เรียน
(Learner Aspirations)
1.มี 3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ (3Rs)
1.การอ่านออก (Reading)
2.การเขียนได้ (Writing)
3.การคิดเลขเป็น (Arithmetics)
2.มี 8 ทักษะที่พึงประสงค์
1.ด้านคิดวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา
2.ด้านการสร้างสรรค์นวัตกรรม
3.ด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์
4.ด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
5.การสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ
6.ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
7.อาชีพ และทักษะการเรียนรู้
8.ความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
3.2. เป้าหมายของการจัดการศึกษา
(Aspiration)
1.ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
2.ผู้เรียนทุกคนทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม
3.ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ
4.ระบบการบริหรจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่คุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย
5.ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทที่เปลี่ยนแปลง
วิสัยทัศน์(Vision)
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
และการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21”