Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่ได้รับอุบัติเหตุ และสารพิษ, image, image,…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่ได้รับอุบัติเหตุ และสารพิษ
ปัจจัยที่ทำให้ได้รับอุบัติเหตุ
ธรรมชาติของเด็ก ตามพัฒนาการ
ความประมาท รู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ปกครองหรือผู้ที่ดูแลเด็ก
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและ สิ่งแวดล้อมด้านสังคม
ความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุในเด็กแต่ละวัย
วัยทารก – 3 เดือน
ช่วยเหลือตัวเองและเคลื่อนไหวได้น้อย
สามารถยกศีรษะได้เองบ้าง
หายใจไม่ออกเนื่องจากหน้าจมอยู่ในหมอน
สำลักนม
ร่างกายติดขัดอยู่กับซี่กรงของเตียง (ห่างไม่เกิน 6 cm)
ตกจากที่สูง
วัยก่อนเรียน 3 – 6 ปี
ชอบปีนป่าย วิ่งคล่อง
ยังมีความอยากรู้อยากเห็น ไม่มีความระมัดระวัง
อุบัติเหตุในถนนจากการวิ่งลงถนน ข้ามถนน ถีบจักรยาน
จมน้า ไฟดูด น้ำร้อนลวก
อันตรายจากการปีนป่าย สิ่งของหล่นใส่
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู ตา จมูก กลืนกินสารพิษ
วัยทารก 3 - 12 เดือน
กล้ามเนื้อคอเริ่มแข็งแรงขึ้น เริ่มพลิกตะแคงตัวได้
เริ่มคลานและหัดเดิน
หยิบจับของได้และนำเข้าปากตนเอง
หกล้ม ตกจากที่สูง
วัตถุหรือของเล่นติดคอ กลืนวัตถุมีพิษ
น้ำร้อนลวก ไฟดูด
วัยเรียน 6 – 12 ปี
มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายมาก
มีความอยากรู้อยากเห็น
อุบัติเหตุเกิดจากการเล่น ตกจากที่สูง
อุบัติเหตุบนถนน การกลืนสารพิษ
วัยหัดเดิน 1 – 3 ปี
เดินเก่ง วิ่งคล่อง
หกล้ม ตกบันได
กินสารพิษหรือยาเกินขนาด วัตถุติดคอ
ไฟดูด น้ำร้อนลวก
วัยรุ่น 12 – 18 ปี
อุบัติเหตุที่มักเกิดจากอันตรายจากการใช้พาหนะ เมาสุรา จมน้ำ ใช้อาวุธทำร้าย
วัยที่แข็งแรงมีพละกำลังมาก มีพฤติกรรมกิจกรรมตามกลุ่มเพื่อน
อุบัติเหตุไฟไหม้ น้าร้อนลวก (Burns)
การประเมินระดับความลึกของบาดแผลไฟไหม้
ความลึกผิวหนัง
ชั้นหนังกาพร้า (Epidermis)
ชั้นหนังแท้ (Dermis)
Degree of burn wound
Second degree burn
บาดแผลที่มีการทำลายของหนังกำพร้าตลอดทั้งชั้นและหนังแท้
เกิดจากถูกของเหลวลวกหรือถูกเปลวไฟ
บาดแผลมีลักษณะแดงและพุเป็นตุ่มน้ำผิวหนังอาจหลุดลอกเห็นเป็นเนื้อแดง ๆ มีน้ำเหลืองซึม
มีอาการเจ็บปวด ติดเชื้อได้ง่าย
สูญเสียน้ำ โปรตีนและเกลือแร่
Third degree burn
มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ ขุมขนและเซลล์ประสาท
ผิวหนังทั้งชั้นจะหลุดลอกเห็นเป็นเนื้อแดง ๆ หรือแดงสลับขาวหรือเป็นเนื้อที่ไหม้เกรียม อาจถึงชั้นกล้ามเนื้อและกระดูก
ไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผล
เกิดภาวะขาดน้ำ หรือติดเชื้อรุนแรงได้
ต้องใช้การปลูกถ่ายผิวหนัง
First degree burn
บาดแผลที่มีการทำลายของเซลล์หนังกำพร้าชั้นผิวนอกเท่านั้น หนังกำพร้าชั้นในยังไม่ถูกทำลาย
บาดแผลจะมีลักษณะแดงบวมเล็กน้อยและปวดแสบปวดร้อน
ไม่เกิดการสูญเสียน้ำและโปรตีน
หายได้สนิทและไม่มีแผลเป็น
ขนาด
คิดเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ผิวหนังแบบหยาบๆ
แผลขนาดหนึ่งฝ่ามือของผู้ป่วย เท่ากับ 1% ของผิวหนังทั่วร่างกาย
Lund and Browder’s chart
American Burn Association
ตำแหน่ง
บริเวณตา อาจทำให้ตาบอด
บาดแผลบริเวณเท้าและอวัยวะเพศมีความเสี่ยงติดเชื้อตามมาได้สูง
แผลที่มือและตามข้อพับต่าง ๆ ทำให้มีแผลเป็นดึงรั้ง เหยียดออกไม่ได้
แนวทางการรักษา
ถ้าถูกน้ำร้อนเล็กน้อย ควรประคบเย็นทันทีเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวด และลดการทาลายเนื้อเยื่อรอบๆแผล
ไม่ควรเจาะตุ่มน้ำใสเพราะอาจทำให้แผลติดเชื้อได้
บาดเจ็บเล็กน้อย ให้ล้างทำความสะอาดบาดแผลด้วยน้าเกลือและสบู่อ่อน ๆ
บาดแผลปานกลางจนถึงรุนแรง สำลักควัน ควรดูแลเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ดูแลระบบไหลเวียนเลือด ป้องกันภาวะ Hypothermia
อุบัติเหตุจากการกลืนสิ่งแปลกปลอม
มีอาการหายใจลำบากอย่างเฉียบพลัน ร่วมกับอาการไอ สาลัก และหายใจมีเสียงดัง
การช่วยเอาสิ่งแปลกปลอมออก
Chest thrusts
ใช้ในสิ่งแปลกปลอมยังไม่หลุดออกมา
สังเกตได้จากผู้ป่วยยังไม่หายใจเอง ไม่ร้อง
กดหน้าอกตรงกึ่งกลางระหว่าง Nipple line 4-5 ครั้ง
การช่วยเหลือเด็กโต
เด็กนอนคว่ำพาดบนตักผู้ใหญ่
ให้ศีรษะของเด็กห้อยต่ำกว่าลำตัว
ตบบริเวณกลางระหว่างไหล่สองข้าง
Back blows
ประมาณ 4-5 ครั้งติดกัน
ใช้สันมือตบลงไปที่บริเวณกึ่งกลางระหว่างสะบักทั้งสองข้าง
Abdominal thrusts
ผู้ป่วยรู้สึกตัวอาจช่วยในขณะที่ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือยืน กำมือด้านหัวแม่มือวางบริเวณลิ้นปี่ของเด็กและใช้มืออีกข้างออกแรงกด 4 ครั้ง
ผู้หมดสติให้ทำการช่วยเหลือโดยให้ผู้ป่วยนอนหงาย ใช้แรงกระแทกพอประมาณกดลงตรงกึ่งกลางระหว่างลิ้นปี่กับสะดือ 6-10
ช่วยเหลือผู้ป่วยที่สงสัยมีสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจในเด็กที่อายุมากกว่า 1 ปี
Finger Sweep
เฉพาะในกรณีที่เห็นสิ่งแปลกปลอมค้างอยู่เท่านั้น
ห้ามใช้นิ้วลองควานหาสิ่งแปลกปลอมในปาก
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการให้อาหารชิ้นใหญ่และกลม เช่น ลูกชิ้นแก่เด็กเล็ก
หลีกเลี่ยงการให้ผลไม้ที่มีเมล็ด เนื้อปลามีก้าง ถั่วแห้ง ลูกอม หมากฝรั่ง ข้าวโพด องุ่น
เลือกของเล่นที่มีขนาดใหญ่ ไม่มีชิ้นส่วนเล็กๆที่ถอดออกจากกันได้
อุบัติเหตุจากการได้รับสารพิษ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ถามว่าเด็กทานสารใด ปริมาณเท่าใด
การตรวจร่างกาย ดูลักษณะทั่วไป ลักษณะผิวหนัง กลิ่นลมหายใจ ซึ่งอาจบ่งชี้ถึงสารพิษได้
อาการและอาการแสดง เช่น หายใจหอบ เหงื่อออก ปากพอง ปวดท้อง หัวใจเต้นผิดปกติ ความดันโลหิตผิดปกติ แสดงถึงความรุนแรงและทราบชนิดของสารพิษ
หลักการปฐมพยาบาล
ทำให้สารพิษเจือจาง
กรณีที่ผู้ป่วยรู้สึกตัวและไม่มีอาการชัก
นมช่วยเจือจางแล้วยังช่วยเคลือบและป้องกันอันตรายต่อเยื่อบุทางเดินอาหาร
ให้ดื่มน้ำหรือนม
ถ้ากินสารพิษที่เป็รกรด ให้ดื่มด่างอ่อนๆ เช่น น้ำปูนใส ผงถ่านละลายน้ำ
ถ้ากินด่าง ให้ดื่มกรดอ่อนๆ เช่น น้ำส้มสายชู น้ำส้มคั้น
กำจัดสารพิษออกจากร่างกาย
ทำให้อาเจียน
กระตุ้น Gag reflex
ให้ Ipecac syrup
ข้อห้าม
รับประทานสารพิษชนิดกัดเนื้อ เช่น กรด-ด่าง อาจทำให้สารพิษย้อนกลับขึ้นมาทำอันตรายต่อเนื้อเยื่อ
รับประทานสารพิษพวกน้ามันปิโตรเลียม เช่น น้ำมันก๊าด
ผู้ป่วยหมดสติ หรือไม่ค่อยรู้สึกตัว
เด็กมีโรคประจาตัว เช่น โรคหัวใจ
เด็กรับประทานยาที่มีผลทำให้ชัก เช่น antidepressants
ลดปริมาณการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
Activated charcoal ลักษณะเป็นผงถ่านสีดา ให้ใช้ 1 ช้อนโต๊ะ ละลายน้า 1 แก้ว
ไข่ขาว 3-4 ฟองตีให้เข้ากัน
แป้งสาลีละลายน้ำ
น้ำมันสลัด
น้ำมันมะกอก
ยาแก้พิษ (antidote)
ช่วยลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากสารพิษ
การป้องกัน
ไม่สารเคมีไว้ที่เดียวกับอาหาร และไม่บรรจุสารพิษในภาชนะที่เคยใส่อาหาร
ไม่หลอกเด็กว่ายา คือขนม
เก็บสารเคมีต่างๆไว้ให้พ้นมือเด็ก
อ่านฉลากทุกครั้งก่อนให้ยาเด็ก
ไม่ปล่อยเด็กไว้ตามลำพัง
Salicylate Poisoning
มีผลต่อการเผาผลาญและการทำหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ผิดปกติไป
ซาลิซัยเลตที่ทำให้เกิดพิษ คือ 200-280 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว
อาการและอาการแสดง
มีอาการวิงเวียน หูอื้อ
มีหายใจหอบ หัวใจเต้นเร็ว
อาจมีอาการของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
มีไข้สูง อาเจียน ท้องเสีย ทำให้ขาดน้ำ
มีอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง
การรักษา
รักษาประคับประคอง
ทำให้ปริมาณยาในร่างกายต่ำลง
ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อน
พิษจากพาราเซตามอล
การรักษา
ทำให้อาเจียน
ล้างท้อง
ดูแลตามอาการ
ระดับของ Acetaminophen ในเลือดที่เป็นอันตรายคือ 150 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว
อาการ
1 สัปดาห์จะมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง เกิดภาวะตับวาย
1-2 วัน เด็กจะเริ่มมีอาการทางตับ คือ เจ็บชายโครงขวา
ภายใน 2 4 ชั่วโมงเมื่อได้รับยา เด็กจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก
พิษจากสารกัดกร่อน
การรักษา
ห้ามอาเจียน
ดูแลทางเดินหายใจ
เจือจางสารพิษด้วยการดื่มนม
อาการ
ปวดแสบปวดร้อนในปาก
น้ำลายไหลยืด
อาเจียนมีเลือดปน
ปากบวม เป็นแผล
เจ็บหน้าอก
Drowning
สาเหตุ
เด็กมีทักษะไม่เพียงพอ
สภาพแวดล้อม
ขาดความรู้ ไม่ทราบว่าอะไร คือ พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย
การป้องกัน
ปกป้องดูแลเด็กด้วยการเฝ้าระวังและจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
สอน “ทักษะความปลอดภัยทางน้า 5 ประการ”
สอนให้เด็กรู้ว่าแหล่งน้ำไหนเสี่ยง ไม่ควรไปวิ่งเล่นใกล้ๆ
ฝึกลอยตัวในน้ำ 3 นาที เพื่อให้เด็กสามารถลอยตัวและว่ายกลับเข้าฝั่งได้
สอนวิธีการช่วยเพื่อนที่จมน้ำ โดยใช้หลัก "ตระโกน โยน ยื่น"
ฝึกให้ว่ายน้าได้ 15 เมตร
สอนการใช้ชูชีพ การลอยตัวเมื่อใส่ชูชีพ เพื่อความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ
การปฐมพยาบาล
เด็กจมน้าที่รู้สึกตัว
เช็ดตัวเปลี่ยนเสื้อผ้าแห้ง
นำส่งโรงพยาบาลเพื่อตรวจสอบอาการแม้เด็กจะหายใจได้ดี
อาจมีอาการหายใจลาบากได้ในภายหลังสาเหตุจากถุงลมในปอดถูกทาลาย
เด็กจมน้าที่ไม่หายใจ
CPR
เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี กดนวดหัวใจโดยวางนิ้วมือ 2 นิ้วด้วยอัตราเร็ว 100 120 ครั้ง/นาที โดยนวดหัวใจ 30 ครั้ง เป่าปาก 2 ครั้ง
เด็กโตกดนวดหัวใจโดยวางส้นมือหนึ่งข้าง ด้วยอัตราเร็ว 100 120 ครั้ง/นาที โดยนวดหัวใจ 30 ครั้ง เป่าปาก 2 ครั้ง กดลึกประมาณ 1-1.5 นิ้ว
การดูแลบาดแผลจากของมีคม
ปล่อยน้ำสะอาดไหลผ่านแผลเพื่อล้างแผล ใช้มือที่สะอาดนำสิ่งแปลกปลอมออกจากบริเวณบาดแผล
ซับแผลให้แห้ง แล้วฆ่าเชื้อด้วยครีมฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงที่จะเกิดการปนเปื้อนจากการสัมผัสบาดแผล
ยกบริเวณบาดแผลให้อยู่ในตาแหน่งที่สูงกว่าหัวใจเพื่อลดการไหลของเลือด
ปิดแผลด้วยผ้าพันแผล
ห้ามเลือดโดยการกดบริเวณแผลด้วยผ้าพันแผลหรือผ้าสะอาด