Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 : ปี (ด้านสาธารณสุข) - Coggle Diagram
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 : ปี (ด้านสาธารณสุข)
วิสัยทัศน์(vision)
เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี
พันธกิจ (mission)
พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน
เป้าหมาย (intention)
ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
ค่านิยม (core value)
MOPH
Originality คือ การเป็นผู้ริเริ่มในสิ่งใหม่ นวัตกรรมใหม่ๆ
People-centered approach คือ ให้ความสำคัญกับผู้ป่วย ผู้ป่วยคือศูนย์กลาง
Mastery คือ การเป็นผู้นำ สามารถควบคุมตนเองได้ ไม่หลงไปตามความโลภ ความโกรธ ความหลง
Humility คือ ความอ่อนน้อมถ่อมตน
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (4 Phase)
Phase 2 (2565-2569)สร้างความเข้มแข็ง คือการจัดโครงสร้างพื้นฐานกำลังคน รวมทั้งระบบการบริหารจัดการให้เข้มแข็ง รวมไปถึงระบบควบคุม ป้องกันโรค งานอนามัยสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญคือการทำให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพของตัวเองได้
Phase 3 (2570-2574)สู่ความยั่งยืน คือป็นช่วงที่ระบบสุขภาพของไทยต้องมีความยั่งยืนทางด้านการเงิน การคลัง ประเทศสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยเฉพาะด้านยาและเวชภัณฑ์ ต่างๆ พึ่งพาต่างประเทศให้น้อยที่สุด
Phase 1 (2560-2564) ปฏิรูปคือการปรับเปลี่ยนระบบบริหารจัดการที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอีกครั้ง การวางพื้นฐานระบบสุขภาพใหม่ เช่นการวางระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เพื่อดูแลผู้ป่วยอย่างบูรณาการ ลดค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในระยะยาว การปรับระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ำของแต่ละกองทุน เป็นต้น
Phase 4 (2575-2579)เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย คือระบบสุขภาพไทยจะต้องเป็นระบบสุขภาพที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพคุณภาพ สังคมมีส่วนร่วมสามารถตรวจสอบได้ ทั้งนี้จะต้องสามารถแข่งขันหรือเทียบเคียงกับนานาชาติได้ โดยตั้งเป้าว่าจะต้องเป็น 1ใน 3 ของเอเชีย ใน 20 ปีข้างหน้า
4 Excellence Strategies
(16 แผนงาน 48 โครงการ)
1) Prevention & Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพ และความปูองกันโรคเป็นเลิศ)
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
2) Service Excellence (บริการเป็นเลิศ)
การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติและเขตเศรษฐกิจพิเศษ
3)People Excellence (บุคลากรเป็นเลิศ)
การวางแผนความต้องการอัตรากำลังคน
การผลิตและพัฒนากำลังคน
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ
4) Governance Excellence (บริหารจัดการเป็นเลิศ)
ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
ระบบหลักประกันสุขภาพ
ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ และการคุ้มครอบผู้บริโภค
ระบบธรรมาภิบาล
อ้างอิงข้อมูลจาก
https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2017/20171117-MinistryofPublicHealth.pdf
จุดยืนองค์กร (positioning)
ส่วนกลาง พัฒนานโยบาย กำกับ ติดตาม ประเมินผล
ส่วนภูมิภาค (เขตสุขภาพ) บริหารจัดการหน่วยบริการ และขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ