Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยทางอายุรกรรม, จุฑาภรณ์ นครไพร…
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยทางอายุรกรรม
เป็นลม (Syncope/Fainting)
การมีภาวะหมดสติชั่วคราวเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงและจะพบว่ามีการสูญเสียการทรงตัว ภาวะดังกล่าวสามารถกลับคืนดีได้เอง บางครั้งอาจมีอาการเตือนมาก่อน เช่น วิงเวียน ใจสั่นตาลาย
สาเหตุ:
การอยู่ในที่ๆมีอุณหภูมิสูง เหนื่อยจัด หิวจัด ออกกำลังกายหนัก ความเครียดวิตกกังวล ตกใจกลัว เสียเลือด เสียน้ำ เสียเกลือแร่ ได้รับบาดเจ็บรุนแรง ความดันตกในท่ายืน
การช่วยเหลือและการรักษา
ประเมินความรู้สึกตัว CABs
พาเข้าที่ร่มอากาศถ่ายเทสะดวก
นอนราบไม่หนุนหมอน ยกปลายเท้าสูง
ถอดและคลายเสื้อผ้าให้หลวม
พัดหรือใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดหน้า มือ เท้า
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น จนมีภาวะระบบหายใจและระบบการไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน ต้องช่วยฟื้นคืนชีพ
สัตว์กัด แมลงกัดต่อย และสารพิษ
สัตว์กัด
ล้างทำความสะอาดบาดแผล
บาดแผลเล็ก ทำแผล ใส่ยาและปิดแผล
ปวดแผล ให้ยาแก้ปวด
ควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกัน
บาดทะยักทุกราย
พิจารณาฉีดวัคซีนป้องกันโรค
พิษสุนัขบ้าตามความเสี่ยงของสัตว์ที่กัด
งูพิษกัด
ตรวจหารอยเขี้ยวงูหรือฟันงูรัดเหนือบาดแผล 2 เปลาะ คลายทุก 15นาที
เคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ทำความสะอาดแผล รีบนำส่งโรงพยาบาล
งูพิษที่มีปัญหาในประเทศไทย
งูที่ผลิตพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin)
งูเห่าไทย งูจงอาง งูสามเหลี่ยม และงู
ทับสมิงคลา
งูที่ผลิตพิษต่อระบบเลือด (hematotoxin)
งูแมวเซา งูกะปะ และงูเขียวหางไหม้
งูที่ผลิตพิษต่อระบบกล้ามเนื้อ (myotoxin)
งูทะเล ทำให้เกิด rhabdomyolysis
อื่นๆ เช่น
กลุ่มงูพิษเขี้ยวหลัง เช่น งูปล้องทอง งูลายสาบ
แมลงกัดต่อย
รีบเอาเหล็กในออก
ประคบเย็นเพื่อบรรเทาปวด
ทาบริเวณที่ถูกกัดด้วยแอมโมเนียหรือครีมสเตียรอยด์
สารพิษและการได้รับสารพิษ
ทางที่สารพิษเข้าสู่
ร่างกาย
ทางปาก โดยการกิน
ทางหายใจก๊าซพิษ ไอระเหย
ทางผิวหนัง ถูกดูดซึมเข้าทางผิวหนัง
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษ
การช่วยชีวิตเบื้องต้น(Basic lifesupport)
การประเมินสภาพผู้ป่วย(Patientevaluation)
การดูแลเบื้องต้น(Early management)
การดูแลรักษาประคับประครอง(Supportive care)
การดูแลรักษาสารพิษเฉพาะ
การช่วยชีวิตเบื้องต้น(Basic lifesupport)
Airway
Maintain airway with C spine protection
Early endotracheal intubation
Protect airway prior to gastric
Breathing
Circulation
Decontamination
สารพิษจำแนกตามลักษณะการออกฤทธิ์
ชนิดกัดเนื้อ (Corrosive)
ชนิดทำให้ระคายเคือง(Irritants)
ชนิดที่กดระบบประสาท(Narcotics)
ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาทDeliriants)
การดูแลเบื้องต้น(Early
management)
เพื่อลดพิษในร่างกาย
(decontamination)
GI decontamination
การลดการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร(decreaseabsorption
การทำให้อาเจียน (emesis)
การล้างท้อง ( gastric lavage)
การใช้ผงถ่าน activated charcoal
การใช้ยาระบาย(cathatics)
การทำ whole bowel irrigation
Surface decontamination
การช่วยเหลือและรักษาเบื้องต้นโดย
ทั่วไป
การทำให้อาเจียน ล้วงคอ ใช้ยาIpecac syrup
ใช้สารลดการระคายเคือง ไข่ขาวดิบ นมสด น้ำมันพืช
ใช้สารดูดซึม เช่น activated charcoal
ใช้ยาระบาย
การล้างท้อง(gastric lavage)
จุฑาภรณ์ นครไพร 611410066-1