Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเกี่ยวกับ
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
กลไกการป้องกันการติดเชื้อ
ปาก / ผิวหนัง / ระบบทางเดินหายใจ / ระบบทางเดินปัสสาวะ / ระบบทางเดินอาหาร
แหล่งของเชื้อโรค
เป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
6 แหล่งสะสมเชื้อโรค : ของเล่น / ฟองน้ำล้างจาน / ผ้าม่าน / ที่เก็บแปลงสีฟัน / ไส้กรองแอร์และเครื่องปรับอากาศ / แป้นโทรศัพท์,รีโมท,สวิตซ์ไฟ
ทางออกของเชื้อโรคในการแพร่กระจาย :
เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายไปยังบุคคลอื่นได้ต้องออกจากแหล่งของมันก่อน
ทางเดินหายใจ / ทางเดินอาหาร / ทางเดินปัสสาวะ / อวัยวะสืบพันธุ์ / เลือด / ผิวหนัง
สิ่งนำเชื้อ
: อากาศ / อาหารและน้ำ / สัมผัสโดยตรงกับคน / วัตถุต่างๆ / แมลงและสัตว์ /บุคคลที่มีเชื้อโรคนั้นเอง
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
Air bone transmission
:
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
Common Vehicle transmission
:
เป็นการแพร่กระจายเชื้อ จากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ยา สารน้ำที่ให้แก่ผู้ป่วย
Vectorborne transmission
:
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือ สัตว์นำโรค
Contact transmission
Indirect contact : เป็นการสัมผัสสิ่งของหรืออุปกรณ์การแพทย์ที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่เป็นการที่เชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยผ่านตัวกลาง
สิ่งของ
อุปกรณ์ทางการแพทย์
Droplet spread : เกิดจากการสัมผัสกับฝอย ละออง น้ำมูก น้ำลาย
Direct contact : เป็นการแพร่กระจายเชื้อจากคนสู่คน (person-to-person spread)
ทางเข้าของเชื้อที่ทำให้เกิดโรค
เมื่อเชื้อโรคออกจากแหล่งของเชื้อโรคแล้วจะทำให้เกิดโรคได้โดยการหาทางเข้าไปในร่างกายมนุษย์ใหม่
ทางเปิด
: ดวงตา / จมูก / ปาก / บาดแผล
ความไวของแต่ละบุคคลในการรับการติดเชื้อ
: ความเครียด / ภาวะโภชนาการ / อ่อนเพลีย / ภูมิแพ้
Nosocomial infection
เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจ หรือ ได้รับการพยาบาล
โดยปกติมักเกิดขึ้นภายใน 48 - 72 ชั่วโมง
เมื่อรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ
การปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่
เทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic technique
)
การกีดกั้นเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด (Medical asepsis)
เทคนิคการทำให้สะอาด
(Clean technique)
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ
(Isolation technique)
การกีดกั้นเชื้อชนิดเคร่งครัด (Surgical asepsis)
เทคนิคการทำให้สะอาด การใส่ถุงมือ (gloves)
เสื้อคลุม (gown) ที่นึ่งแล้ว
การใช้ปากคีบที่ทำให้ไร้เชื้อ หยิบเครื่องมือเครื่องใช้ที่
สะอาดปราศจากเชื้อ
เทคนิคปราศจากเชื้อ (Sterile technique)
เครื่องมือเครื่องใช้ปราศจากเชื้อ (sterile)
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การต้ม
การต้มเป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดี ง่าย ประหยัด มีประสิทธิภาพดีการต้มเดือดนาน 10 นาที
เช่นไวรัส HIV องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ต้มเดือนนาน 20 นาทีเพื่อให้มั่นใจ
การต้มเดือดที่มีประสิทธิภาพที่เชื่อถือได้ ควรจะต้มเดือดนาน 20 นาทีขึ้นไป และน้ำค้องท่วมของที่ต้องการต้ม
การเตรียมสิ่งของที่จะต้ม
สิ่งของที่จะต้มควรได้รับการทำความสะอาดดีแล้ว
แยกชนิดสิ่งของที่จะต้มเครื่องมือกับเครื่องแก้วไม่ต้มด้วยกันเพราะเครื่องแก้วอาจแตกได้
เครื่องใช้มีคนไม่ควรต้ม เพราะจะทำให้เสียความคม
ของที่ใช้กับอวียวะสะดาด ไม่ควรต้มปนกับของที่ใช้กับอวัยวะสกปรก ถ้าเป็นไปได้อาจจะแยกหม้อต้ม
ต้มครบเวลาแล้วเก็บไว้ในภาชนะที่ปราศจากเชื้อสะอาดมีฝาปิดมิดชิด
หลักสำคัญในการต้ม
น้ำต้องท่วมของทุกชิ้นอย่างน้อย 1 นิ้ว
เครื่องมือที่มีน้ำหนักเบา ควรใช้ของที่มีน้ำหนักทับเพื่อให้จม
ปิดผาหม้อต้ม เริ่มนับเวลาเมื่อน้ำเดือดเต็มที่
ในขณะต้มต้องไม่เปิดฝาหม้อต้ม เพราะจำทำให้อุณหภูมิภายในหม้อต้มลดลง
และต้องไม่เพิ่มสิ่งของอื่นลงไป เมื่อของที่ต้มอยู่ยังต้มไม่ครบ 15 หรือ 20 นาที
เก็บของที่ต้มแล้วลงในภาชนะที่ปราศจากเชื้อหรือสะอาดมีฝาปิดมิดชิด
การเตรียมอุปกรณ์
หม้อต้มที่สะอาดมีฝาปิด เพื่อให้อุณหภูมิสม่ำเสมอขณะต้ม
ใส่น้ำสำหรับการต้มให้มีปริมาณมากพอ การใช้น้ำประปาจะทำให้เกิดตะกรันในหม้อต้ม ซึ่งอาจจะทำให้เกิดคราบบนผิววัสถุที่ต้ม
หรือต้องใช้เวลาต้มนาน ความร้อนจึงจะผ่านตะกรันเข้าไปได้
การล้าง
เป็นขั้นแรกที่สำคัญ สำหรับการทำลายเชื้อในขั้นต่อไป
การล้างอาจจะใช้สารเคมีที่ใช้ชำระล้าง (detergent)
ช่วยหรือการใช้เครื่องล้างพิเศษแบบ ultrasonic Cleanser
การล้างที่ถูกต้องสามารถขจัดจุลชีพออกจากวัสดุเกือบทั้งหมด
และเพียงพอสำหรับการทำลายเชื้อสำหรับเครื่องใช้โดยทั่วไป
วัตถุประสงค์
เพื่อลดจำนวนเชื้อโรคบนเครื่องมือให้เหลือปริมาณน้อยที่สุด
เพื่อเป็นการลดสิ่งปนเปื้อนที่ติดอยู่บนผิวของเครื่องมือ
ความสกปรกที่ติดแน่นบางอย่าง ไม่สามารถจะหลุดได้
ช่วยลดอันตรายในการหยิบจับอุปกรณ์ของเจ้าหน้าที่เป็นเบื้องต้น
ข้อควรคำนึง
กำจัดเลือด หนอง เมือก สารคัดหลั่งและอื่นๆ ออกก่อนทำความสะอาดเสมอ
ไม่ทำให้อุปกรณ์เครื่องใช้ชำรุดเสียหายจากวิธีการทำความสะอาด
ไม่ทำให้อุปกรณ์เครื่องใช้สกปรกมากกว่าเดิม เช่น การใช้น้ำสกปรกล้าง
สารจากสบู่มีฤทธิ์เป็นด่าง หากล้างออกไม่หมดจะช่วยเคลือบเชื้อจุลชีพไว้
ดังนั้นหลังจากทำความสะอาดแล้ว ไม่ควรมีสารตกค้างหลงเหลืออยู๋
เครื่องใช้
อุปกรณ์ช่วยในการขัดถู มีขนาดและรูปร่างต่างๆกัน ควรเป็นวัสดุที่มีความหยาบแต่ต้องไม่มีความคม จนเกิดรอยขีดข่วนขึ้นเมื่อขัดถู
สารซํกฟอก หรือสบู่
อุปกรณ์สวมใส่เพื่อป้องกันความสกปรกกระเด็นถูกร่างกาย
วิธีทำ
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันความสกปรกตามความเหมาะสม ระมัดระวังไม่ให้เปื้อนบริเวณใกล้เคียง
ล้างคราบสิ่งสกปรกและคราบสาร
เช็คให้แห้งด้วยผ้าสะอาด หรือวางผึ่งลมก่อนเก็บเข้าที่
ทำความสะอาดอุปกรณ์ขัดล้างให้สะอาด ทำให้แห้ง
การใช้สารเคมี
Disinfectant
สารเคมีหรือนำยาที่ใช้ทำลายจุลินทรีย์ แต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ น้ำยานี้จะทำลายเนื้อเยื่อด้วย ฉะนั้นจะใช้กับผิวหนังไม่ได้
Antseptics
สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ สามารถใช้กับสิ่งมีชีวิตได้ปลอดภัย
น้ำยาที่ใช้ในการทำลายเชื้อ
แอลกอฮอล์
ทำลายเชื้อได้ดีแต่ไม่ทำลายสปอร์ อาจทำให้เครื่องมือโลหะเกิดสนิท
อัลดีฮัยด์ (Aldehydes)
ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส รา ในเวลา 10 นาที
ทำลายสปอร์แบคทีเรียได้ใน 10 ชั่วโมง
ราคาแพง
ระคายเคืองผิวหนัง ทางเดินหายใจ ตา
ไดกัวไนด์ (Diguanide)
สารที่ใช้คือ Chlorhexidine
ถ้าความเข้มข้นต่ำกว่า 0.2% ไม่สามารถทำลายแบคทีเรียแกรมบวก
เชื้อไวรัส เชื้อรา และสปอร์ของแบคทีเรียได้
ฮาโลเจน (Halogens)
สามารถทำลายเชื้อโรคได้ต่างกันตามความเข้มข้นของน้ำยา Hypochlorite และ Iodine เช่น ไอโอดีน ไฮเตอร์ แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์แบคทีเรียได้
กลิ่นเหม็น โลหะเป็นสนิม ระเหยง่ายต้องเก็บในภาชนะทึกแสง ห้ามผสมกับกรด และฟอร์มาลิน
ฮัยโดเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide)
สามารถทำลายเชื้อโรครวมทั้งไวรัสโดยใช้ Hydrogen peroxide
6% นาน 30 นาที
น้ำยาที่ฟีนอล (Phenols)
สามารถทำลายเชื้อแบทีเรีย เชื้อวัณโรค เชื้อรา ยกเว้นเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และสปอร์ของแบคทีเรีย
ไม่ควรใช้กับทารกแรกเกิด บริเวณที่เตรียมอาหาร กลิ่นแรง ระคายเคืองผิวหนัง กัดกร่อนยางธรรมชาติและพลาสติก
Quartemary Ammonium Compounds (QACs)
มีฤทธิ์ทำลายเชื้อน้อย เช่น Benzalkonium chloride เป็นส่วนประกอบใน Savlon
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีทางเคมี
การใช้ 2% Glutaradehyde
ทำลายเชื้อและสปอร์ของแบคทีเรีย เป็นสารที่ไม่ทำลายยางหรือพลาสติก
การใช้ Peracetic acid
คุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง แต่ต้องละลายในน้ำอุ่น เครื่องมือเครื่องใช้ที่แช่
ใช้เวลารวดเร็วคือ 35-40 นาที ที่อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซียส
การใช้ก๊าซ Ethylene oxide
เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติทำลายเชื้อสูง สามารถทำลายได้ทั้งไวรัส แบคทีเรียรวมทั้งสปอร์ของแบคทีเรีย
อบก๊าซไว้ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส นาน 3 ชั่วโมง
อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 5 วัน หรือ ใช้เวลา 8 ชั่วโมงภายใต้อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส
วิธีทางกายภาพ
Dry heat or hot air sterilization
สามารถทำลายเชื้อโดยใช้ความร้อนแห้งที่อุณหภูมิ 165-170 องศาเซลเซียส
ระยะเวลาอย่างน้อย 3 ชั่วโมง การใช้ความร้อนแห้งนี้เหมาะสำหรับเครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นของมีคม ไม่ทำให้ของเสียคมใช้สำหรับเครื่องแก้วที่ใช้ในห้องปฏิบัติ
Steam under pressure
ภาชนะที่ทำด้วยสแตนเลส ไม่เหมาะสำหรับเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทนความร้อนสูงไม่ได้
ทำให้ปราศจากเชื้ออยู่ระหว่าง 121-123 องศาเซลเซียส ภายใต้ความดัน 15-17 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ใช้เวลานาน 15-45 นาที เช่น การทำลายเชื้อโดยใช้ Autoclave เป็นการอบไอน้ำภายใต้ความดัน
Radiation
ไม่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสเอดส์
เชื้อวัณโรคเมื่อถูกแสงแดดจะถูกทำลายภายใน 1-2 ชั่วโมง
การหยิบจับของปราศจากเชื้อ
วิธีการใช้ปากคีบหยิบของที่ปราศจากเชื้อ
ระวังไม่ให้ปากคีบแยกออกจากกัน
ขณะถือให้ปลายปากคีบอยู่ต่ำ
ระวังไม่ให้ปากคีบถูกกับภาชนะอื่น
ใช้เสร็จแล้วให้จับตรงกลางให้ปลายชิด กันแล้วใส่ลงในกระปุก
วิธีหยิบของในหม้อนึ่งปราศจากเชื้อ
เมื่อเปิดฝาถ้าวางกับโต๊ะให้หงายขึ้นถ้าถือให้คว่ำขาลง
ห้ามเอื้อมข้ามของ sterile ที่เปิดฝาไว้
หยิบออกมาใช้แล้วไม่ควรนำเข้าไปเก็บในหม้ออีก
ของที่ปราศจากเชื้อจะอยู่ในภาชนะที่มีฝาปิดหรือในห่อ เช่น หม้อนึ่งสำลี ก๊อซหรือถาดแช่เครื่องมือที่มีฝาปิด เมื่อจะหยิบจับของเหล่านี้ไปใช้ จะต้องรักษาของที่หยิบและของที่เหลือให้ปราศจากเชื้อโดยใช้ปากคีบ ที่มีลักษณะยาวและแช่อยู่ในกระปุกที่แช่น้ำยา (Transfer forceps) หยิบ
การเปิดห่อของที่ปราศจากจากเชื้อ
เพื่อความปลอดเชื้อของสิ่งของภายในห่อ
วิธีทำ
สำรวจป้ายชื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้และตรวจสอบความปราศจากเชื้อจาก Autoclave tape วางห่อบนโต๊ะสูงระดับเอว แกะเทปการป้ายชื่อที่ระบุวันนึงจับมุม ผ้าด้านนอกห่างขอบประมาณ 1 นิ้ว เปิดมุมแรกออกทางด้านตรงข้าม เปิดมุมด้านข้างออกทีละข้างและมุมด้านในสุด
วิธีห่อของส่งนึ่ง
คลี่ผ้าห่อของบนโต๊ะสูงระดับเอว วางของไว้ที่ศูนย์กลางจับมุมผ้าด้านผู้ห่อวางพาดลงบนของพับมุมเล็กน้อยห่อด้านซ้ายและด้านขวาพับมุม เล็กน้อยดึง ให้ดึงจับผ้าที่เหลือมุมสุดท้ายดึงให้ดึง พับมุมเข้าเล็กน้อยจัดห่อให้มิดชิด ดึงห่อด้วยเทปก้าวระบุหอผู้ป่วย ชื่อสิ่งของ วันที่ส่ง และชื่อผู้ห่อของ และติด Autoclave tape
หลักพื้นฐานของภาวะ ปราศจากเชื้อ
หากของปลอดเชื้อสัมผัสกับสิ่งที่ไม่ปลอดเชื้อจะถือว่าเกิดการปนเปื้อน contamination
ของปลอดเชื้อต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวและอยู่ในสายตา
ดูแลของปลอดเชื้อ
ปากคีบปลอดเชื้อ ถือให้สูงกว่าระดับเอวปลายปากคีบชี้ลงเสมอ
การเทน้ำยาปลอดเชื้อขวดสูงกว่าภาชนะ 6 นิ้ว น้ำยาต้องไม่ไหลและปากขวดต้องไม่สัมผัสกับถาชนะรองรับ
หลีกเลี่ยงการทำน้ำยาหกเพื่อนผ้าห่อของ
หลีกเลี่ยงการพูดคุย ไอ จาม ข้ามของปลอดเชื้อ
อุปกรณ์ทุกชนิดที่จะสอด/ใส่ผ่าน ผิวหนังผู้ป่วยจะต้องปลอดเชื้อ
การเทน้ำยาหรือวางของปลอดเชื้อไม่ควรชิดขอบภาชนะหรือผ้าห่อประมาณ 1 นิ้ว
เปิดผ้าห่อให้เปิดด้านตรงข้ามผู้ และเปิดทั้งสองด้านซ้ายขวาก่อนจึงกลับมาเปิดมุมด้านไหนของผ้าห่อ
การปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การล้างมือ (Hand washing)
เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการลดการติดเชื้อจากการสัมผัสโดยตรงควรล้างมือก่อนและหลักการพยาบาลผู้ป่วยมีจุดประสงค์เพื่อขจัดสิ่งสกปรกต่างๆและลดจำนวนเชื้อจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่บนผิวหนัง
การล้างมือก่อนและหลังปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
> กลูโคเนต 4% ไอโอโตฟอร์ 7.5% ฟอกตามขั้นตอนแบบธรรมดาอย่างน้อย 30 วินาที
การล้างมือก่อนทำหัตถกรรม
> ให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวทำลายเชื้อ เช่น chlorhexidine 4% ใช้แปลง แปลงมือและเล็บในครั้งแรกของวันนั้น ฟอกมือถึงข้อศอกอย่างน้อย 5 นาที
ล้างมือแบบธรรมดา
> เพื่อสุขภาพอนามัยทั่วไปล้างมือตามขั้นตอนขั้นตอนด้วยสบู่ก้อนหรือสบู่เหลวฟอกมืออย่างน้อย 15 วินาที
การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล
> ในกรณีรีบด่วนทำความสะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์เจลซึ่งมีน้ำยา alcohol 70% หรือ alcohol 70% ผสม chlorhexidine 0.5% โดยการบีบน้ำยา ประมาณ 10 มิลลิลิตร ดูให้ทั่วมือทุกซอกทุกมุมประมาณ 15-25 วินาที
การป้องกันการติดเชื้อแบบมาตรฐาน (Standard precaution)
เป็นการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ใช้กับผู้ป่วยทุกคน
การมีสุขาภิบาลและสุขอนามัยที่ดี
เครื่องป้องกัน
หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
หลัก Standard precaution
สวมเครื่องมือป้องกันตามความเหมาะสม
ระวังการบาดเจ็บจากเข็มและของมีคม
หากมีบาดแผลควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังการพยาบาล
การปฏิบัติที่ปลอดภัยจากการใช้ของมีคม
ไม่ส่งของมีคมด้วยมือต่อมือ เข็มที่ใช้เจาะเลือดผู้ป่วยให้เก็บทิ้งคนเดียวการเย็บแผลให้ใช้ forceps หยั่งแผลเวลาเย็บไม่ควรสวมปลอกเข็มคืน หากจำเป็นควรสวมปลอกเข็มโดยใช้มือเดียว (one hand technique)
การใส่ถุงมือ (Glove)
ป้องกันการติดเชื้อทั้งทางตรงและทางอ้อม
วัตถุประสงค์ของการใส่ถุงมือ
ป้องกันและควบคุมเชื้อโรคจากตัวเราสู่ผู้ป่วย
ป้องกันและควบคุมเชื้อโรคจะผู้อื่นสู่ผู้ป่วย
ป้องกันและควบคุมผู้สัมผัสเชื้อที่เป็นพาหะไปสู่ผู้อื่น
ถุงมือปลอดเชื้อ (Sterile gloves)
หยิบจับของปลอดเชื้อ ทำหัตถการต่างๆ ป้องกันการติดเชื้อไปยังผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ถุงมือสะอาดหรือชนิดใช้ครั้งเดียว (Clean,Disposable gloves)
ป้องกันสิ่งสกปรกสัมผัสมือ การเคลื่อนย้ายเครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ป่วยที่ผ่านการใช้งานแล้ว
การใช้ผ้าปิดจมูก (Mask)
ปลุกป้องกันการได้รับเชื้อจากผู้ป่วยเข้าสู่ทางเดินหายใจและป้องกันผู้ป่วยได้รับเชื้อจากผู้อื่น
การใส่เสื้อกาวน์ (Gown)
เสื้อกล่าวจะช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคได้เสื้อควรใหญ่และยาวเล็กน้อยเพียงพอที่จะคลุมชุดเครื่องมิดชิด
การป้องกันการแพร่กระจาย
Contact Precautions (การแพร่กระจายจากการสัมผัส)
แยกผู้ป่วยและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าออก สวมถุงมือทุกครั้งเมื่อสัมผัส ล้างมือหลังถอดถุงมือและก่อนออกจากห้องแยก
Droplet Precautions (แพร่กระจายได้ทางละอองในอากาศ)
แยกผู้ป่วยปิดประตูทุกครั้งหลังออกจากห้อง ผู้ที่จะเข้าต้องใส่ผ้าปิดปากจมูกชนิด N95 สวมถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งทุกครั้งที่สัมผัสล้างมือ ให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปากจมูกชนิดธรรมดาตลอดเวลา
Airborne Precautions (แพร่กระจายทางอากาศ)
แยกผู้ป่วย ผู้ที่จะเข้าต้องใส่ผ้าปิดปากจมูกชนิด N95 ล้างมือ สวมถุงมือและให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปากจมูกชนิดธรรมดาตลอดเวลา
เทคนิคการแยก (Isolation Technique)
การแยกผู้ป่วยจำแนกเป็น 7 แบบ คือ
โรคติดต่อ ทางระบบทางเดินหายใจ
โรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร
โรคติดต่อทางบาดแผลและผิวหนัง
โรคติดต่อร้ายแรงและติดต่อง่าย
โรคติดต่อทางเลือดและน้ำเหลือง
รายที่สงสัยว่าจะเป้นโรคติดต่อ
รายที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
วิธีในการแยกผู้ป่วยเพื่อจำกัดการแพร่กระจายของเชื้อโรค
จุดประสงค์
ป้องกันการแพร่กระจายโรคติดต่อ
ป้องกันการติดโรค
ป้องกันการช้ำเติมโรค
เพื่อทำลายเชื้อโรค
การติดเชื้อ (Infection)
โรคติดเชื้อ: Infectious disease
โรคติดต่อ: Communicable disease
จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ > E.coli
แหล่งของเชื้อโรค > ทำให้เชื้อขยายตัวและเติบโต
ทางออหในการแพร่กระจาย > เลือก ผิวหนัง ทางเดินหายใจ
สิ่งนำเชื้อ (พาหะ) >อากาศ น้ำ อาหาร แมลงหรือสัตว์ ตัวบุคคล
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล Nosocomial infection
เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจหรือการ
พยาบาล รวมถึงการติดเชื้อของบุคลากร มักเกิดภายใน2-3วัน
เมื่อรับผู้ป่วย
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
Air bone transmission - การสูดหายใจเอาเชื้อเขาไป
Vestorbome transmission - แมลงหรือสัตว์นำโรค
Common Vehicle transmission - ปนเปื้อนในเลือด อาหาร น้ำ ที่ให้ผู้ป่วย
Contact transmission - Directcontact คนสู่คน
lndirect contact สิ่งของหรืออุปกรณ์เป็นตัวกลาง
Droplet spread ฝาย ละอองน้ำมูก น้ำลาย
ทางเข้าของเชื้อที่ทำให้เกิกโรง > ตา จมูก ปาก แผล
ความไวในการติดเชื้อ > ความเครียด อ่อนเพลีย ภูมิแพ้
คำศัพท์
Sterilization = ขบวนการทำลายเชื้อโรคทุกชนิค
Sterile = สิ่งของหรือเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อโรค
Contamination = การสัมผัส ปนเปื้อนเชื้อโรค
Disinfectant = สารเคมีหรือน้ำยาที่ใช้ทำลาย จุลินทรีย์
Antiseptics = สารเคมีที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
Critical items = เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมผัสกับเยื่อบุ
Semi-critical or intermediate items =เครื่องมือเครื่องใช้
ที่สัมผัสเหยื่อบุไม่มีเชื้อโรคยกเว้นสปอร์ของแบคทีเรีย
Non-critical items = เครื่องมือที่ใช้สัมผัสผิวหนังภายนอก
Dis infectant = สารเคมีหรือนำยาที่ใช้ทำลอยจุลินทรีย์
Antiseptice = สารเคมีที่ยับบั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์