Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม …
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
Appendicitis
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากมีภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่ง
การอุดกั้น
เกิดขึ้นเองโดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
เกิดจากมีเศษอุจจาระแข็งๆ
เรียกว่า fecalith
ชิ้นเล็กๆ ตกลงไปอุดกั้นอยู่ภายในรูของไส้ติ่ง
ทำให้เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในรูไส้ติ่งเกิดการเจริญรุกล้ำเข้าไปในผนังไส้ติ่ง
เกิดการอักเสบ
เกิดจากเนื้อเยื่อต่อมน้ำเหลือง
โดยผนังไส้ติ่งที่หนาตัวขึ้นตามการอักเสบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้
อาเจียน
ปวด
ปวดตื้อๆ ตลอดเวลาหรืออาจปวดมากเป็นพักๆ
ท้องผูก หรือท้องเสีย
กดเจ็บ
ท้องแข็ง
มีไข้
อาจสูงถึง 38.3 องศาเซลเซียส
ผลกระทบ
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เม็ดเลือดขาวสูง
ตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ตรวจ CT scan
แนวทางการรักษา
วินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
อาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด laparotomy เพื่อทำ laparoscopic
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทำ appendectomy
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
Acute Cholecystitis
สาเหตุและพยาธิสภาพ
ขณะตั้งครรภ์มีการเพิ่มขนาดของมดลูก
เกิดแรงดันและกดเบียด
การไหลเวียนและระบายของถุงน้ำดีไม่ดี
เมื่อมีการกดทับเป็นเวลานาน
ทำให้มีการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน
จึงเกิดการอักเสบของถุงน้ำดีเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา
คลื่นไส้อาเจียน
มีไข้
ตัวเหลือง
ผลกระทบ
แท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
colicky sign
ปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
ตรวทางห้องปฏิบัติการ
CBC
มีการเพิ่มของ leukocyte
U/A
เพิ่มขึ้นของ WBC
ตรวจพิเศษ
Radiographic diagnostic
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ทำ Laparoscopic for cholecystectomy/ cholecystectomy
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
Analgesia; morphine
ให้ ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum
antispasmodics
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก tocolytic therapy
Bowel obstruction
พยาธิสภาพ
การอุดตันของลำไส้จากพังผืด
การบิดของลำไส้
การตีบ
ก้อนเนื้องอก หรือไส้เลื่อน
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพัก ๆ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
ซักประวัติ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC, electrolyte, X-Ray, MRI
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
อักเสบและติดเชื้อ
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัยท์
ปัญหาเกี่ยวกับไต
ต่อทารกในครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
คลอดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ใส่สาย Nasogastric tube
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
Ovarian tumor
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
การโตของ cystic corpus luteum
ภาวะของ ovarian cyst /tumor ที่โตขึ้น ร่วมกับการติดเชื้ออื่นๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่
ภาวะท้องมานน้ำ
คลอดยาก
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ตรวจ MRI
ผลกระทบ
แท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
คลอดยาก
การรักษา
ผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
Uteri tumor
อุบัติการณ์
สามารถเกิดได้ 30% แต่จะมีมากน้อย ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล
Myoma Uteri
หมายถึง ก้อนของกล้ามเนื้อที่จับตัวเป็นก้อนกลมๆ
Adenomyosis
หมายถึง เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการ
ปวดท้อง
อาจพบภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
คลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
ซักประวัติ
ตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ตรวจ MRI
ผลกระทบ
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะคลอด
คลอดยาก และมีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี ตกเลือดหลังคลอด และอาจได้รับการตัดมดลูกได้
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นำส่งตรวจพยาธิวิทยาเพื่อการวินิจฉัยต่อไป
หากก้อนยังใหญ่ไม่มาก ไม่มีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ และการตั้งครรภ์สามารถดำเนินต่อไปจนครบกำหนด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การประเมิน
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการผ่าตัด เพื่อลดความกลัวเกี่ยวกับการสูญเสียบุตร
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ดูแลให้งดอาหารและน้ำทางปาก
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
การพยาบาลขณะผ่าตัด
จัดท่าในการผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM ระหว่างการผ่าตัด
การดูแลหลังการผ่าตัด
ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ประเมินและบันทึก FHS
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
ประเมินผู้ให้การดูแล (care giver) ตัวของสตรีตั้งครรภ์ เพื่อให้รู้ในสิ่งที่จำเป็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวภายหลังการผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
Trauma during pregnancy
อุบัติการณ์
พบร้อยละ 7 ของการตั้งครรภ์ และพบภาวะแทรกซ้อนคือการบาดเจ็บทางร่างกาย โดยเฉพาะเมื่ออายุครรภ์มากขึ้นก็ยิ่งพบว่ามีความเสี่ยงในการบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น
ชนิด
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้น
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
ผลกระทบ
แท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
ทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บ
ทารกตายในครรภ์
ทารกตายคลอด
พยาธิวิทยา
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์
Abruptio placenta ภายในเวลา 48 ชม.
Pelvic fracture อาจพบภาวะของ bladder trauma, retroperitoneal bleeding, ข้อต่อบริเวณกระดูกเชิงกราน กระดูก symphysis pubis
Uterine rupture เกิดการฉีกขาด หรือแตก ขณะได้รับบาดเจ็บ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการบาดเจ็บ
Immediate care
การพยาบาลควรคำนึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา
การช่วยฟื้นคืนชีพควรช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก
ทีมให้การพยาบาลต้องทำการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์
Minor trauma
Bleeding/vg., uterine irritability
Abdominal tenderness, abdominal pain or cramps
Hypovolemia
FHR เปลี่ยนแปลง
Fetal activity หายหรือลดลง
Major trauma
ในการช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs ควรประเมินแบบ systematic evaluation
ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพสำเร็จ ควรมีการประเมินสภาพร่างกายทั่วไปตามระบบต่างๆ
ทีมสูติกรรม
ทีมวิสัญญี
ทีมดูแลทารกในครรภ์
การช่วยฟื้นคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นแรก
แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
เริ่มทำการ chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา
maternal interventions
ดูแลและช่วยเหลือในการช็อคไฟฟ้า
ดูแลให้ได้รับชนิดยา ขนาด ปริมาณและวิถีทางที่ให้ยาให้ถูกต้อง
ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen ทางท่อทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับการติด Monitor waveform capnography
ดูแลและประเมินให้กระบวนการ CPR มีคุณภาพ
Obstetric interventions
นวดหัวใจด้วยมือ
ถอด internal และ external fetal monitors ออกก่อน
การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพไปแล้วเป็นเวลา 4 นาที
ตั้งเป้าหมายให้คลอดภายใน 5 นาที
BEAU-CHOPS
Bleeding/DIC/accident
Embolism: coronary/pulmonary/amniotic fluid embolism
Anesthetic complications
Uterine atony
Cardiac disease (MI/ischemia/aortic dissection/cardiomyopathy)
Hypertension/preeclampsia/eclampsia
Other: differential diagnosis of standard guidelines, accident, abuse
Placenta abruptio/previa
Sepsis