Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 5, image, image, image, image - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 5
การพยาบาล
-
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะอุณหภูมิกาย และบันทึกปริมาณปัสสาวะที่ออกมา
ดูแลมารดาให้ได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำถูกขนาดและเวลาตามแผนการรักษา
แนะนำให้ดื่มน้ำมาก ๆ วันละ 2,000-3,000 ml เพื่อกำจัดเชื้อโรค
แนะนำไม่ให้กลั้นปัสสาวะหากรู้สึกปวด ควรรีบ ปัสสาวะหรือ กำาหนดเวลาที่ต้องปัสสาวะทุก 2 ชั่วโมง และควรปัสสาวะก่อน และไม่ดื่มน้ำมากก่อนการ เดินทางไกล หรือเมื่อต้องเดินทางในช่วงการจราจร ติดขัด
แนะนำมารดาทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอภายหลังการขับถ่ายและให้ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศ อย่างถูกวิธี คือ เช็ดทำาความสะอาดจากด้านหน้าไป ด้านหลัง จะทำาให้เชื้อโรคบริเวณรอบทวารหนักหรือ ช่องคลอดไม่ติดมายังท่อปัสสาวะดูแลบันทึกสารนำเข้าทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาและ สังเกตลักษณะของน้ำปัสสาวะ เพื่อประเมินสีและตะกอนในน้ำปัสสาวะ
ให้ความมรู้มารดาถึงภาวะแทรกซ้อนที่มีอันตรายร้ายแรง ได้แก่ ภาวะไตวาย ทำให้ร่างกายขับน้ำและของเสียออกจากร่างกายไม่ได้ และภาวะโลหิตเป็นพิษ เชื้อแพร่เข้ากระแสโลหิต กระจายไปทั่วร่างกาย ซึ่งอาจรุนแรงถึงเสียชีวิตได้
แนะนำมารดาไปพบแพทย์ตามนัดเสมอ และรีบไปพบแพทย์ก่อนนัดเมื่อมีอาการผิดปกติ
การรักษา
-
ในรายที่เป็นซ้ำอยู่บ่อย ๆ ควรให้nitrofurantoin 100 mg รับประทาน ก่อนนอน ตลอดการตั้งครรภ์ที่เหลืออยู่
-
-
-
การวินิจฉัย
Theory
การตรวจพบเชื้อแบคทีเรีย > 1 ชนิดขึ้นไปในปริมาณ
≥ 10^5 CFU/ml จากการเพาะเชื้อในปัสสาวะ ไม่ว่าจะตรวจพบเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ (pyuria) หรือไม่ก็ได้ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีอาการหรืออาการแสดงของการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
Case
พบเชื้อแบคทีเรียในการตรวจปัสสาวะ > 10^5 cell/ml
ไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัด หรือปวดบริเวณเอว
ชอบกลั้นปัสสาวะบ่อยๆ
พยาธิสรีรวิทยา
เคสกรณีศึกษา
จากเคสกรณีศึกษา หญิงตั้งครรภ์อายุ18สัปดาห์ อยู่ในไตรมาสที่สอง เกิดจากการที่มีผลจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนและการขยายตัวของขนาดมดลูกทำให้เกิดการตีบแคบของกระเพาะปัสสาวะและกดกระเพาะปัสสาวะมากขึ้น ลำไส้จะถูกดันไปทางด้านขวา รวมถึงหญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมกลั้นปัสสาวะบ่อยๆ ทำให้เพิ่มความเสี่ยงของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้ แต่ยังไม่มีอาการแสดงใดๆ หากไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้โรคมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
ทฤษฎี
เกิดจากการติดเชื้อพวกแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดหรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ย้อนกลับขึ้นไป (Ascending infection) ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานของ ระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์ จากผลของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) และการขยายตัวของขนาดมดลูก เป็นปัจจัยเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดิน ปัสสาวะได้ เชื้อแบคทีเรียจะเข้าไปในท่อปัสสาวะโดยตรงในเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะที่เรียนจะเพิ่มจำนวนในน้ำปัสสาวะที่ขังอยู่จากการถ่ายปัสสาวะออกไม่หมดหรือจากทางเดินปัสสาวะอุดตันน้ำปัสสาวะจะช่วยให้แบคทีเรียเพิ่มจำนวนและปัสสาวะมีภาวะเป็นด่างจะทำให้แบคทีเรียเพิ่มจำนวนขึ้นได้เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้นจะทำให้เยื่อเมือกบวมแดงอาจมีเลือดออกหากมีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะส่วนล่างร่วมด้วยและไม่ได้รับการแก้ไขจะกลายเป็นการอักเสบเรื้อรังมีพังผืดเกิดขึ้น กระเพาะปัสสาวะเล็กลงเป็นผลให้ความจุของกระเพาะปัสสาวะลดลง
โรค
การตรวจพบเชื้อแบคทีเรียในปัสสาวะโดยไม่มีอาการ (Asymptomatic Bacteriuria; ASB) คือการตรวจพบเชื้อแบคทีเรีย > 1 ชนิดขึ้นไปในปริมาณ ≥ 105 CFU/ml จากการเพาะเชื้อในปัสสาวะ ไม่ว่าจะตรวจพบเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ (pyuria) หรือไม่ก็ได้ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีอาการหรืออาการแสดงของการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ASB พบได้บ่อยในผู้หญิงที่สุขภาพดี รวมทั้งเด็กและผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะ สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มี ASB ในช่วงต้นของการตั้งครรภ์อาจเกิดภาวะกรวยไตอักเสบได้สูงและเกิดผลกระทบด้านลบต่อทารกในครรภ์ได้สูง จึงแนะนำให้ทำการคัดกรองและรักษาภาวะนี้ในหญิงตั้งครรภ์
การพยากรณ์โรค
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะหากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม เเละอาจมีการลุกลามของเชื้อไปยังส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินปัสสาวะเกิดเป็นอาการเเทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อเเบคทีเรียในปัสสาวะซ้ำ (Recurrent bacteriuria) กระเพาะปัสสาวะอักเสบจากการติดเชื้อ (cystitis) เเละการเกิดกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน(acute pyelonephritis ) จะเห็นได้ว่าการป้องกันการติดเชื้อ ทางเดินปัสสาวะสามารถปรับให้เป็นส่วนหนึ่งในการดําเนินชีวิตได้ ตั้งแต่ในเรื่องของสุขอนามัย การแต่งกาย การดื่มน้ำ และเรื่องของการรับประทานอาหาร การขับถ่ายปัสสาวะ การใช้ยาปฏิชีวนะ และการดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ซึ่งหากปฏิบัติสิ่งต่างๆ เหล่าน้ีได้เป็นประจําจน เป็นกิจวัตร การห่างไกลจากการติดเชื้อของทาง เดินปัสสาวะคงเกิดขึ้นได้ไม่ยาก
หญิงตั้งครรภ์ 18 สัปดาห์ มาฝากครรภ์ตามนัด ตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อแบคทีเรียในปัสสาวะ > 10^5 cell/ml ตรวจเลือดพบ WBC 14,000 cell/m^3 v/s BT 37.3 ํC PR 80 beat/min RR 22 beat/min จากการซักประวัติไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัด หรือปวดบริเวณเอว แต่ชอบกลั้นปัสสาวะบ่อยๆ
-
-
-
-