Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีบริหาร 4 กรกฎาคม 64 - Coggle Diagram
ทฤษฎีบริหาร 4 กรกฎาคม 64
ทฤษฎีภาวะผู้นำ
Warren Bennis
ชาวอเมริกัน
ผู้บุกเบิกการเรียนรู้ด้านผู้นำ
ผู้เชี่ยวขาญจาก ม. MIT
คนเราไม่ได้เกิดมาเพื่อเป็นผู้นำ แต่ผู้นำนั้นสร้างได้
Leadership
Integrity : ความซื่อตรง
สอดคล้องกับคำพูดและการกระทำ
คนที่คิด พูด ทำตรงกัน
เชื่อถือได้
Dedication : การอุทิศตน
ทุ่มเทเวลาและพลังงาน
มีเวลาลงมือทำทันที
Magnanimity : จิตใจเอื้อเฝื้อเผื่อแผ่
ยกย่อง ยอมรับความสำเร็จของลูกน้อง
เกิดข้อผิดพลาด กล้ารับผิดชอบ
Humility : ความนอบน้อมถ่อมตน
ไม่ถือตนเหนือคนอื่น
ไม่เสแสร้ง
Openness : การเปิดกว้าง
รับฟังความคิดเห็นที่แตกต่าง
ไม่หยุดการตัดสินก่อนจนกว่าจะฟังจบ
ไม่ขัดหรือตัดตอน
ไม่ดูถูกความคิดของผู้อื่น
Creativity : ความคิดสร้างสรรค์
คิดนอกกรอบได้
มองอนาคตที่คนอื่นมองไม่เห็น
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance)
ม.49
กำหนดให้มี สมศ.
พัฒนาระบบประเมินภายนอก
พัฒนาเกณฑ์ประเมินภายนอก
รับรองผู้ประเมินภายนอก
กำกับดูแลและกำหนดมาตรฐาน
พัฒนาและฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอก
เสนอรายงานการประเมินคุณภาพและมาตรฐานฯประจำปี
มีระบบประกันฯเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
หน่วยงานต้นสังกัดมีระบบประกันคุณภาพภายใน
สร้างความเชื่อมั่น
SAR
สรุปสำหรับผู้บริหาร
ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพตามาตรฐาน
ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี
ผู้บริหารมืออาชีพ (Professional Management)
ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์กว้างไกล
บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
สามารถครองตน ครองคน ครองงาน และประสานสัมพันธ์ได้
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
มีจิตวิญญาณนักบริหาร
นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้บริหาร
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้นำยุคศตวรรษที่ 21
โมเดลภาวะผู้นำทางการศึกษา (Educational Leadership Model)
ความรู้ (Knowledge)
ทักษะ (Skills)
คุณภาพ (Qualities)
พฤติกรรมที่แสดงให้เห็นความสามารถในการจัดการ กระบวนการจัดการที่ผู้นำมีอิทธิพลต่อผู้ตาม
องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization : LO)
สร้างองค์ความรู้เพื่อเพิ่มพูนสมรรถนะที่เกิดความก้าวหน้า
Peter Senge
ทุกคนสามารถขยายศักยภาพของตนเองได้
สร้างผลงานตามที่ตั้งเป้าหมายไว้
มีอิสระที่สร้างแรงบันดาลใจ
David A.Gavin
องค์กรที่สร้างแสวงหา ถ่ายโยงความรู้
มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากความรู้ใหม่
Michael Marquardt
องค์กรที่บรรยากาศการเรียนรู้รายบุคคลและกลุ่ม
มีการสอนคนของตนเองให้มีการคิดวิเคราะห์
ถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกันระหว่างบุคลากร
แนวทางในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
บุคคลรอบรู้ (Personal Mastery)
แบบแผนความคิด (Mental Model)
การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)
การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning)
การคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking)