Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการประกอบอาชีพ Occupational Diseases, รูปการทำงาน, โรคหู, ยาฆ่าแมลง,…
โรคจากการประกอบอาชีพ Occupational Diseases
โรคสำคัญจากปัญหาหมอกควันในจังหวัดภาคเหนือตอนบน
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค(คิดต่อประชากรแสนราย)
โรคระบบทางเดินหายใจ
อันดับที่2 จ.น่าน 17,632
อันดับที่3 จ.พะเยา 16,925
อันดับที่1 จ.แม่ฮ่องสอน 18,884
โรคหัวใจขาดเลือด
อันดับที่2 จ.พะเยา 108.73
อันดับที่3 จ.ลำพูน 95.07
อันดับที่1 จ.ลำปาง 111.90
แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
หลักเลี่ยงการออกจากบ้านโดยไม่จำเป็น
หากจำเป็นต้องออกจากบ้าน ควรสวมแว่นตา และสวมหน้ากากอนามัยป้องกันฝุ่น
เมื่อมีหมอกควันเกิดขึ้น ควรปิดประตู หน้าต่าง เพื่อป้องกันไม่ให้หมวกควันลอยเข้าสู่บ้าน
หากมีอาการผิดปกติหลังจากสูดดมฝุ่น เช่น แน่นหน้าอก หายใจติดขัด ให้รีบพบแพทย์ทันที
หลีกเลี่ยงการสูดดมละอองควันไฟเข้าสู่ร่างกายโดยตรง
สาเหตุ/ปัจจัย
สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาหมอกควัน คือ การบุกรุกเผาทำลายป่าไม้เพื่อประโยชน์ส่วนบุคคล ประกอบกับการเผาเศษวัสดุทางการเกษตรเพื่อเตรียมพื้นที่ในการทำการเกษตร
โรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
(Disease caused by pesticides)
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค
ปี 2559
พบผู้ป่วยโรคจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวน 8,689 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนราย เท่ากับ 14.4
ปี 2560
พบผู้ป่วยโรคจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวน 10,312 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนราย เท่ากับ 17.12
ปัจจัยและสาเหตุ
ด้านประเภทที่ปลูก
ด้านระยะเวลาการสัมผัส
ด้านลักษณะการใช้สารเคมี
แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ถอด
ถอดชุดและอุปกรณ์ทุกชิ้นที่ใช้ขณะฉีดพ่น หรือทำงาน แยกซักจากเสื้อผ้าอื่นๆแล้วรีบอาบน้ำเปลี่ยนเสื้อผ้าทันที
ใส่
ใส่อุปกรณ์เครื่องมือป้องกันอันตรายจากสารเคมีขณะทำงาน เช่น เสื้อผ้ามิดชิดรัดกุม หน้ากาก ถุงมือ รองเท้า เป็นต้น
อ่าน
ให้เกษตรกรอ่านฉลากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชก่อนใช้และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
ทิ้ง
ทิ้งผลิตภัณฑ์บรรจุสารเคมีกำจัดศัตรูพืชให้ถูกต้อง คัดแยกออกจากขยะทั่วไป ให้อยู่ในกลุ่มขยะอันตราย ทิ้งให้ห่างไกลจากแหล่งน้ำ ป้องกันการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม
งานและอาชีพที่เสี่ยง
ทำสวน
สนามกอล์ฟ
เกษตรกร ทำไร่ ปลูกข้าว ทำไม้
พ่นสารกำจัดศัตรูพืช
ผสมสารกำจัดศัตรูพืช
เจ้าหน้าที่ในห้องฉุกเฉิน
อุบัติเหตุจากการกินไม่รู้เท่าทัน
การได้ยินเสื่อมจากเสียง
Noise - induced hearing loss (NIHL)
ปัจจัย/สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
มีสาเหตุมาจากการได้รับสัมผัสเสียงดังเกินมาตรฐานซึ่งอาจจะมาจากสภาพแวดล้อมการทำงานหรือจากสภาพสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวทำให้เกิดผลหระทบต่อสมรรถภาพการได้ยินอาจเกิดขึ้นแบบชนิดเฉียบพลันหรือแบบชนิดค่อยเป็นค่อยไปและทำให้เกิดการสูญเสียการได้ยินทั้งแบบชั่วคราวและถาวร
งานที่สัมผัสกับเสียงที่ดัง เช่น งายอุตสาหหกรรมโลหะ งานตัดไม้ เลื่อยไม้ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อาชีพขับรถรับจ้าง อุตสาหกรรมยางและพลาสติก เป็นต้น
อัตราความชุกและอุบัติการณ์
ปี 2560 มีอัตราป่วยเป็นจำนวน 42,946 คน คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 71.29 ต่อประชากรแสนคน
ปี 2561 มีอัตราป่วยเป็นจำนวน 1,076 คน คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 1.78 ต่อประชากรแสนคน
ปี 2559 มีอัตราป่วยเป็นจำนวน 60,946 คน คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 101.49 ต่อประชากรแสนคน
แนวทางการแก้ไข
ปลั๊กอุดหู (Ear Plugs) / ครอบหู (Ear Muff)
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรืออยู่ยริเวณที่มีเสียงดังหรือลดระยะเวลาที่สัมผัสกับเสียงดีงต่างๆ
ปฎิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย
ปรับปรุงแก้ไข เพื่อลดเสียงจากเครื่องจักร อุปกรณ์หรือแหล่งที่ทำให้เกิดเสียง
ทดสอบสมรรถภาพการได้ยินของพนักงานที่ต้องสัมผัสกับเสียงดัง
เผยแพร่ความรู้เพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายของเสียง
โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทำงาน(0ccupational musculo-skeletal disorders)
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค
ปี 2560
พบผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อเฉพาะรายที่เกี่ยวข้องกับภาวะทำงาน 100,734 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนราย เท่ากับ 167.22
ปี 2559
พบผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อเฉพาะรายที่เกี่ยวข้องกับภาวะทำงาน 81,226 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนราย เท่ากับ 135.26
อ้างอิง
: กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข.2560.
รายงานสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี2560.
สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2564 จากเว็บไซด์
http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/669
แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
การป้องกัน
หยุดพักการทำงานเป็นระยะๆ
การลุกยืนและเปลี่ยนท่านั่ง หรือท่าทำงาน
การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
ปรับท่าทางในการทำงานให้เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน
ไม่ออกเเรง หรือยกของหนักเกินกำลัง หาอุปกรณ์ช่วยยกของหนัก
การรักษา
ไปตรวจสุขภาพทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ไปพบแพทย์ : กายภาพบำบัด หรือการคลายกล้ามเนื้อเฉพาะจุดที่มีกล้ามเนื้ออักเสบ
สาเหตุและปัจจัย
จากอาชีพที่นั่งโต๊ะทำงานเป็นเวลานาน
งานออฟฟิค
พยาบาล
จากอาชีพที่ทำงานโดยใช้กล้ามเนื้อเป็นเวลานาน
เกษตรกรรม
ปลูกพืชผัก
ปลูกพืชไร่
เลี้ยงสัตว์
รับจ้าง
แบกหาม
ยกของ
ขับรถ
ขับรถประจำทาง
ขับรถบรรทุก
โรคจากความร้อน
(Disease caused by heat radiation)
อัตราชุก/อุบัติการณ์การเกิดโรค
ระดับความชุกในรอบ 3 ปี =13.54 ต่อเกษตรกรแสนคน (ตั้งแต่ปี 2559 – 2561 )
จากประชากรเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน กับสำนักงาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดขอนแก่นจำนวน 225,901 คน พบโรคจากความร้อนสูงที่สุด ได้แก่
ผื่นจากความร้อน (heat rash)
ตะคริวแดด (heat cramps)
ภาวะกล้ามเนื้อสลาย
(Rhabdomyolysis)
โรคเพลียแดด (heat exhaustion)
หมดสติจากความร้อน (heat syncope)
อาการล้าชั่วคราว
มีอาการวิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ
หน้ามืด
1.ลมแดด (heat stroke)
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ชักหมดสติ และ อาจเสียชีวิต วัดอุณหภูมิทางทวารหนักได้มากกว่า 40.2 ºc
ผู้ป่วยที่ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรเพาะปลูกพืช
ได้แก่ ปลูก ข้าว และ มันสำปะหลัง ซึ่งมีจำนวนที่ใช้ในการเพาะปลูก
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ไร่ และมีผลผลิตน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ตัน/ปี
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยเป็นเพศหญิง และกลุ่มตัวอย่างมีอายุอยู่ในช่วงระหว่าง 51-60 ปี และกลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี
แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของความร้อนที่อาจทำให้เกิดการเจ็บป่วย และการป้องกันอันตรายจากความร้อน
จัดให้มีน้ำเย็นและกระตุ้นให้คนงานดื่มน้ำบ่อยๆ ในระหว่างทำงานที่มีอากาศร้อน อย่างน้อยครั้งละ 1 แก้วทุก 20 นาที
จัดให้มีช่วงเวลาพักบ่อยกว่าการทำงานในสภาพปกติ และบริเวณที่พักมีสภาพอากาศไม่ร้อน
4.สวมใส่เสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี
จัดหาอุปกรณ์ป้องกันความร้อนไม่ให้สัมผัสคนงานโดยตรง
6.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือคาแฟอีน
ปัจจัยสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
ปัจจัยด้านกายภาพ
สัมผัสกับอากาศร้อนอบอ้าว (ร้อยละ 99.7)
การทำงานมีแสงจ้ามากเกินไป (ร้อยละ 85.5)
เป็นภาวะปกติในการตอบสนองของร่างกายต่อการสัมผัสความร้อนสูงกว่าปกติ และไม่สามารถควบคุมอุณภูมิให้อยู่ในระดับปกติได้
เกษตรกรรมเป็นหนึ่งในงานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดการเจ็บป่วยที่เกี่ยวเนื่องจากการสัมผัสความร้อนสูง
เกษตรกรทำงานในที่โล่งแจ้งมีการสัมผัส ความร้อนสูงมาก ในระยะเวลานาน และยังขาดมาตรการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการบริหารจัดการที่ดี
อ้างอิง
ปฐมฤกษ์ มีสมบัติ , สุนิสา ชายเกลี้ยง, อนุชนรา ตาลกุล คัสเธอร์ .(2562).ความชุกของการเกิดโรคจากความร้อนเนื่องจากการทำงานของเกษตรกรเพาะปลูกในจังหวัดขอนแก่น.วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ,11(3),37-48