Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ, 1A ชัญญา พึ่งมา…
การพยาบาลเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อ (Infection)
วงจรของขบวนการติดเชื้อ
เชื้อโรค อยู่ตามแหล่งต่างๆ เราไปสัมผัส ได้กลิ่น เข้าสู่ร่างกายตามส่วนที่เปิด เช่นตา จมูก ปาก แผล
ทางออกของเชื้อโรค
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
ทางเดินปัสสาวะ
ทางเดินปัสสาวะ
อวัยวะสืบพันธุ์
เลือด
ผิวหนัง
สิ่งงนำเชื้อ
อากาศ,อาหารและน้่ำ,แมลงสัตว์ บุคคลมีเชื้อโรค
วิธีการติดเชื้อ
vectorborne
แพร่กระจายโดยสัตว์
Air bone transmission
แพร่โดยการเอาเชื้อในอากาศเข้าระบบทางเดินหายใจ
common vehicle transmission
แพร่กระจายจากเชื้อที่มีจุลชีพปนเปื้อนในเลือด ผลิตภัณฑ์ของ อาหาร น้ำ ให้ผู็ป่วย
contact transmission
1.direct contact คนสู่คน
2.indirect contact อุปกรณ์การแพทย์ที่มีเชื้อเข้าร่างกาย
3.droplet spread สัมผัสการน้ำลาย น้ำมูก
ทางเข้าเชื้อ
ทางเปิดต่างๆในร่างกายมนุษย์
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล Nosocomial infection
การติดเชื้อที่เกิดจากการได้รับเชื้่อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการพยาบาล หรือบุคคลากรที่ปฏิบัติงาน
ภาวะปลอดเชื้อและเทคนิคปลอดเชื้อ (Asepsis)
หมายถึง การปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่จะเกิดกับเครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม
เทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic technique)
กีดกันเชื้อชนิดไม่เคร่งครัด (Medical asepsis)
เทคนิคการทำให้สะอาด (Clean technique)
การคัดแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อด้วยวิธีการแยกเฉพาะ (Isolation technique)
กีดกั้นเชื้อชนิดเคร่งครัด (Surgical asepsis)
เทคนิคการทำให้สะอาด(การใส่ถุงมือ(gloves)
เสื้อคลุม(gown) ที่นึ่งแล้ว)
การใช้ปากคีบที่ทำให้ไร้เชื้อหยิบเครื่องมือที่สะอาดปราศจากเชื้อ
เทคนิคปราศจากเชื้อ (Sterile technique)
เครื่องมือใช้ปราศจากเชื้อ (Sterile)
คำศัพท์
sterilization
ขบวนการทำลายเชื้อโรคทุกชนิดรวมทั้งพวกที่มีสปอร์ให้หมด
sterile
สิ่งของ เครื่องมือปราศจากเชื้อโรค
contamination
การสัมผัส ปน เปื้อนเชื้อโรค
Disinfectant
ขบวนการทำลายเชื้อโรค แต่ไม่สามารถทำลายชนิดที่มีสปอร์ได้ วิธีการ เช่น ต้ม แช่น้ำยา
Antiseptics
สารเคมียับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ใช้กับสิ่งมีชีวิตได้ปลอดภัย
critical items
เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมผัสเยื่อบุ ก่อนใช้ต้องสะอาดปราศจากเชื้อ
semi-critical or intermediate items
เครื่องมือเครื่องใช้ที่สัมผัสเยื่อบุ ก่อนใช้ต้องสะอาดไม่มีเชื้อโรค ยกเว้นสปอร์ของแบคทีเรีย
non-critical items
เครื่องมือสัมผัสกับผิวนอก ไม่ได้สัมผัสกับเยื่อบุต่างๆของร่างกาย ก่อนใช้ ต้องล้างให้สะอาด
การหยิบของปราศจากเชื้อ
วิธีการใช้ปากคีบหยิบ
เมื่อหยิบปากคีบจากภาชนะที่แช่ ต้องระวังไม่ให้ปากคีบแยกออกจากกัน ไม่ให้ถูกับภาชนะ ถือให้ปากคีบอยู่ต่ำ ระวังไม่ให้ถูกกับของที่ไม่ปราศจากเชื้อ ใช้เสร็จจับตรงกลางด้ามให้ปลายชิดกันและใส่ลงในกระปุกตรงๆ
วิธีหยิบของในหม้อนึ่ง ในอับ
เมื่อเปิดฝา ถ้าจะวางให้หงายฝาขึ้น ถ้าถือให้ถือคว่ำลง ห้ามเอื้อมข้ามของ หยิบแล้วไม่ใส่คืน
วิธีห่อของส่งนึ่ง
คลี่ผ้าห่อของบนโต๊ะ สูงระดับเอวมุมอยู่ด้านผู้ห่อ วางของไว้กลางของห่อผ้า จับมุมด้านผู้ห่อพาดบนของพับมุมดึงให้เรียบดึงผ้าให้ตึงห่อด้านซ้ายขวา ดึงให้ตึงและพับมุม แปะเทปกาว ระบุหอผู้ป่วย ชื่อสิ่งของ วันที่ส่ง ชื่อผู้ห่อของ ติดAutoclave tape
การเปิดห่อของที่ปราศจากเชื้อ
วิธี
สำรวจตรวจสอบ วางห่อบนโต๊ะสะอาดสูงกว่าระดับเอว ให้มุมนอกสุดอยู่ไกลตัว แกะป้ายออก จับมุมผ้าด้านนอกห่าง1นิ้ว เปิดมุมแรกออกไปด้านตรงข้าม เปิดทีด้านละเปิดด้านในสุด
การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้
การล้าง (Cleansing)
การล้างเป็นขั้นแรกที่สำคัญสุด ควรเน้น การล้างที่ถูกต้องสามารถขจัดจุลชีพออกจากวัสดุเกือบทั้งหมด
วัตถุประสงค์ ลดอันตรายเพิ่มความปลอดภัย
ข้อคำนึง
กำจัดสารคัดหลั่งก่อน ไม่ทำอุปกรณ์พัง สกปรกกว่าเดิม ล้างให้หมด
อุปกรณ์
อุปกรณ์ช่วยถู สารซักฟอก สบู่ ถุงมือยาง เอี๊ยมพลาสติก ผ้าปิดปากจมูก แว่น
วิธีทำ
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันความสกปรก ล้างคราบสกปรก เช็ดให้แห้ง แยกไปทำให้ปราศจากเชื้อ ทำความสะอาดอุปกรณ์ขัดล้าง อ่างล้างหน้า ถุงมือ อ่างน้ำ
การต้ม (Boiling)
เป็นวิธีที่ทำลายเชื้อได้ดี มีประสิทธิภาพดี ทำลายเชื้อได้ยกเว้นสปอร์ ต้มที่ดีต้อง20นาทีขึ้นไป
เตรียมอุปกรณ์
หม้อต้มมีฝาปิด น้ำปริมาณพอ
การเตรียมของที่จะต้ม
ทำความสะอาดแล้ว แยกชนิดที่จะต้ม ของมีคมไม่ควรต้ม ของสะอาดต้มกับของที่สะอาด
หลักการ
น้ำท่วมของที่ต้ม 1 นิ้ว ใช้ของหนักทับให้จม ปิดฝา ไม่เปิดขณะต้ม
การใช้สารเคมี (Chemical method)
อัลดีฮัยด์ (Aldehydes)
ทำลายเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส รา ในเวลา 10 นาที ทำลายสปอร์แบคทเรียได้ใน10ชั่วโมง
ราคาแพง ระคายเคืองผิวหนัง ทางเดินหายใจ ตา
แอลกอฮอล์ (Alcohols)
ทำลายเชื้อแต่ไม่ทำลายสปอร์ อาจทำให้โลหะเกิดสนิม
ไดกัวไนด์(Diguanide)
สาร chlorhexidine ถ้าเข้มข้นต่ำกว่า0.2%ไม่สามารถทำลายได้
ฮาโลเจน(Halogens)
ทำลายเชื้อโรคตามความเข้มข้นยา Hypochlorite และ Iodine แต่ไม่ทำลายสปอร์ กลิ่นเหม็น โลหะเป็นสนิม ระเหยง่าย เก็บทึบแสง ห้ามผสมกรด
ฮัยโดเจนเปอร์ออกไซด์
ทำลายเชื้อโรค ไวรัส ใช้Hydrogen peroxide6% 30นาที
น้ำยาฟีนอล(Phenols)
ทำลายเชื้อยกเว้น ไวรัสตับอักเสบบีและสปอร์ ไม่ควรใช้ทารกและบริเวณเตรียมอาหาร
Quartmary Ammonium compounds (QACs)
มีฤทธิทำลายน้อย
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีทางกายภาพ
Dry heat or hot air sterilization
คล้ายเตาอบขนมปัง ใช้คความร้อน165-170 องศาเซลเซียส เวลาอย่างน้อย3ชั่วโมง เหมาะกับของมีคมไม่เหมาะกับผ้าและยาง
Steam under pressure
มีประสิทธิภาพมากที่สุด ประหยัด เหมาะกับเครื่องมืที่ทนความร้อนสูง
Radiation
การใช้แสงอัลตราไวโอเลต สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียและไวรัสบางชนิด แต่ไม่ฆ่าไวรัสตับอักเสบบี เอดส์
วิธีทางเคมี
การใช้ 2% Glutaradehyde
มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไม่ทำลายยาง พลาสติก ไม่ทำให้เกิดสนิม แช่3-10ชั่วโมง
การใช้ Peracetic acid
ส่วนผสม acetic acid กับ hydrogen peroxide กัดกร่อนสูง ต้องละลายน้ำอุ่น ใช้เสร็จต้องล้างน้ำยาออกให้หมด
การใช้ก๊าซ Ethylene oxide
สมบัติทำลายเชื้อสูง นิยมใช้กับเครื่องมือที่ไม่ทนความร้อน
หลักพื้นฐานของภาวะปราศจากเชื้อ
1.ดูแลให้ของปลอดเชื้อนั้นคงความปลอดเชื้อ
ปากคีบปลอดเชื้อ ใช้จับของปลอดเชื้อต้องปลอดเชื้อตลอดเวลา ถือสูงกว่าเอวปลายปากชี้ลง
เทน้ำยาปลอดเชื้อ สูงกว่าภาชนะ6นิ้ว ปากขวดไม่โดนภาชนะ
ไม่ทำน้ำยาหก
ไม่พูดคุย ไอจาม
2.หากของปลอดเชื้อสัมผัสกับสิ่งที่ไม่ปลอดเชื้อให้ถือว่าไม่ปลอดเชื้อ เรียกcomtamination
ไม่ควรใช้ปากคีบหยิบขอบภาชนะ เปิดห่อ
ห้ามหยิบด้วยมือ
มีรอยฉีกขาดถือว่าไม่ปลอดเชื้อ
3.ของปลอดเชื้อต้องอยู่สูงกว่าระดับเอวและสายตา
หากไม่แน่ใจความปลอดเชื้อ เปลี่ยนของใหม่ทันที
ไม่ควรหันหลังให้ของปลอดเชื้อเพื่อให้แน่ใจว่ายังปลอดเชื้อ
การปฏิบัติ
การล้างมือ (Hand washing)
การล้างมือแบบธรรมดา (Normal or Social hand washing)
ล้างด้วยสบู่ ใช้เวลาอย่างน้อย15วินาที
การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล (Alcohol hand rub)
แอลกอฮอล์เจล มีแอลกอฮอล์70เปอร์เซ็นขึ้น ถูให้ท้่วทุกซอกจนแห้ง เวลา30วินาที
การล้างมือก่อนปฏิบติการพยาบาลใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและภายหลัง
เช่น การสวนปัสสาวะให้ล้างมือด้วยสบู่เหลวผสมยาทำลายเชื้่อ ฟอกอย่างน้อย30วินาที ล้างออกด้วยน้ำสะอาดแล้วซับให้แห้งด้วยผ้าแห้งสะอาด
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical hand washing)
ให้ล้างด้วยสบู่เหลวทำลายเชื้อ และใช้แปรงที่ปราศจากเชื้อแปรงมือและเล็บในครั้งแรกของวันนั้นๆ แล้วฟอกมือให้ทั่วนาน5นาที ครั้งต่อไป3-5นาที ล้างแล้วซับด้วยผ้าสะอาดให้แห้ง
การใส่ถุงมือ (Glove)
วัตถุประสงค์ 3 ปรการ คือ 1.ป้องกันเชื้อเราไปสู้ผู้ป่วย จากผู้ป่วยไปบุคคลอื่น 2.ป้องกันและควบคุมเชื้อโรค 3.ป้องกันและควบคุมผู้สัมผัสเชื้อเป็นพาหะนำไปสู่ผู้อื่น
ชนิด
ถุงมือปลอดเชื้อ (Sterile gloves)
ทำหัตการ หยิบของปลอดเชื้อ
ถุงมือสะอาดหรือชนิดใส่ครั้งเดียวทิ้ง (Clean,Disposable gloves)
ป้องกันสิ่งสกปรก เคลื่อนย้ายผู้ป่วย เครื่องมือ
การใช้ผ้าปิดปาก-จมูก (mask)
หลักสำคัญ
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังใช้ หากเป้นชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้งให้หันขอบลวดไว้บน สวมกระชับไม่หลวม หลีกเลี่ยงสัมผัสผ้าปิดปากและจมูกเสร็จกิจกรรมให้ทิ้งทันที
การใส่เสื้อกาวน์ (Gown)
เสื้อควรใหญ่และยาว ควรเปลี่ยนทุกเวร ถ้าเปียกเปื้อนควรเปลี่ยนทันทีโดยกลับเอาด้านในออกและล้างมือทุกครั้งให้สะอาด
การป้องกันเชื้อแบบมาตรฐาน (Standard percaution)
1.มีสุขภิบาลและสุขอนามัยที่ดี(sanitation and hygiene)
3.หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ(Avoid accidents)
2.เครื่องป้องกัน (protection barriers)
การปฏิบัติที่ปลอดภัยจากของมีคม
1.ไม่ส่งของมือคมด้วยมือต่อมือ
2.เข็มใช้เจาะผู้ป่วยให้เก็บทิ้งคนเดียว
3.ใช้forceps หยั่งแผลเวลาเย็บ
4.ปลดหลอดแก้วออกจากสายยางให้ใช้ forceps ปลด
5.ไม่ควรสวมปลอกเข็มคืน แต่ถ้าจำเป็นต้องสวม ควรสวมด้วยมือเดียว
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
1.การสัมผัส contact transmission
Direct contact สัมผัสโดยตรง คนกับคน
indirect contact สัมผัสผ่านสิ่งแวดล้อม
Droplet contact สัมผัสผ่านละอองเสมหะ ไม่เกิน3ฟุต
วิธีการจัดการ
แยกผู้ป่วยไว้ห้องปิด และปิดประตูหล้งเข้าออกทุกครั้ง
สวมถุงมือเมื่อสัมผัสผู้ป่วย
ล้งมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกห้อง
การติดเชื้อที่แพร่กระจายได้ทางละอองอากาศ Droplet precautions
ผู้ป่วยไว้ในห้องแยก ปิดประตูทุกครั้งที่เช้าออก
ผู้เข้าเยี่ยมต้องปิดปากจมูกด้วย N95
สวมถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ล้งมือแบบ hygienic handwashing หลังถอดถุงมือและก่อนออกห้อง
ให้ผู้ป่วยใช้ผ้าปิด
ปากจมูกเวลาไอจาม และใส่ผ้าปิดปากจมูกชนิดธรรมดาตลอดยกเว้นตอนทานอาหาร
หลัก Standrad precaution
1.สวมเครื่องป้องกัน ตามความเหมาะสม
2.ระวังการบาดเจ็บจากเข็มและของมีคมต่างๆ
3.บุคคลากรเมื่อมีแผลควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย
4.ต้องล้างมือให้สะอาดก่อนปฏิบัติและหลังปฏิบัติ
เทคนิคการแยก (Isolation Technique)
คือ วิธีในการแยกผู้ป่วยเพื่อจำกัดการแพร่กระจายของเชื้อโรคจากผู้ป่วยไปบุคคลอื่นหรือบุคคลอื่นไปผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
ป้องกันการแพร่กระจาย ป้องกันการติดโรค ป้องกันการซ้ำเติมโรคในผู้ป่วย เพื่อทำลายเชื้อโรคซึ่งเป็นตัวให้เกิดโรค
จำแนกออก7แบบ
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางบาดแผลและผิวหนัง
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงและติดต่อง่าย
การแยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางเลือด และน้ำเหลือง
การแยกผู้ป่วยในรายที่สงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อ
การแยกผู้ป่วยในรายที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
1A ชัญญา พึ่งมา 63123301031 เลขที่12