Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายสุขภาพ/ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ, image, image, image, image, image…
นโยบายสุขภาพ/
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
หมายถึง
ข้อความที่เป็นการประกาศอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อสุขภาพของประชาชน ตัวอย่างนโยบายสุขภาพ เช่น นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค นโยบายการจัดสรรงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อโครงการป้องกันการสูบบุหรี่ เป็นต้น
นโยบาย
ปี 2564
COVID-19 เพิ่มศักยภาพความมั่นคงทางสุขภาพในการจัดการกับโรคอุบัติใหม่
หน่วยบริการก้าวหน้า
-ผลักดัน 30 บาทรักษาทุกที่
-New Normal Medical Care
-Innovative Healthcare Management
สุขภาพดีวิถีใหม่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ New normal โดยเฉพาะอาหาร การออกกำลังกาย
ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
-ดูแลสุขภาพกลุ่มวัยอย่างเป็นระบบมุ่งเน้นกลุ่มเด็กปฐมวัย และผู้สูงอายุ
-พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตเชิงรุก
สมุนไพร กัญชา กัญชง ผลักดันสมุนไพร กัญชา กัญชง เพื่อสุขภาพ
ธรรมาภิบาล โปร่งใส บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาลโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้
เศรษฐกิจสุขภาพ เพิ่มมูลค่านวัตกรรมผลิตภัณฑ์/บริการทางสุขภาพ มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ
องค์กรแห่งความสุข พัฒนาสู่องค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพงานได้ผล คนเป็นสุข ปลอดภัย สร้างผู้นำรุ่นใหม่
ระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ อสม. ใหคนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัว 3 คน
ยโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2564
2.ระบบสุขภาพ
-มุ่งพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ
-ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและ อสม คนไทยทุกคนต้องมีหมอประจ าตัว 3 คน -ดูแลสุขภาพองค์รวม ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม
เศรษฐกิจสุขภาพ
-เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ
-ให้ความสำคัญกับสมุนไพร กัญชา กัญชง ทางการแพทย์
-เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงอย่างปลอดภัย
สุขภาพดีวิถีไหม่ (New Normal)
-สรา้งความมั่นใจและความพรอ้ มในการจัดการกับโรคอุบัติใหม่ COVID-19
-สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพประชาชน สุขภาพดีวิถีใหม่ 3 อ
1.ให้ความสำคัญสูงสุดต่อโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ
6.บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล
-บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล
โปร่งใส ตรวจสอบได้
-สร้างความปลอดภัยให้กับ
บุคลากรและผู้รับบริการ
-งานได้ผล คนเป็นสุข
มีความเป็นพี่ เพื่อน น้อง
-สร้างผู้นำรุ่นใหม่
และพัฒนาคนให้เก่งกล้า
3.ระบบบริการก้าวหน้า
-เสริมสร้าง พัฒนา Basic Excellence ให้มีศักยภาพ ครอบคลุมทุกเขตสุขภาพ
-New Normal Medical Care
-ยกระดับสู่ Innovation healthcare management
-สนับสนุน 30 บาท รักษาทุกท
หมายถึง
นโยบายสาธารณะทีคำนึงถีงผลกระทบของนโยบายที่จะมีต่อสุขภาพ เป็นนโยบายที่สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งผลดีต่อสุขภาพของคนทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม ไม่ก่อให้เกิดภาวะที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพโดยตรง รวมทั้งไม่เป็นอุปสรรคในการเข้าถึงและการได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็น
เส้นทางสู่การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
ฝ่ายที่ทำงานทางวิชาการต้องสนับสนุนข้อมูลหลักฐานเกี่ยวกับผล กระทบด้านสุขภาพจากการดำเนินกำนโยบายสาธารณะต่างๆ
สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกัน
ต้องช่วยกันสร้างความตระหนักในคุณค่าของสุขภาพ
ช่วยกันนำเสนอทางเลือกของนโยบาย
สาธารณะเพื่อสุขภาพ
เข้าร่วมกระบวนการสร้างนโยบาย
สาธารณะ
เครื่องมือสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
ใช้กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ (Policy Formulation Process)
ต้องมีขั้นตอนอย่างน้อย 8 ขั้นตอน โดยแต่ละขั้นตอนต้องคำนึงถึง 3 ประเด็นใหญ่ คือ ความรู้ การเมือง และสังคม ในขณะเดียวกันก็ต้องคำนึงถึงปัจจัยสำคัญต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพไปพร้อมๆ กันด้วย
ใช้กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (Health Impact Assessment : HIA)
เป็นการทำงานแบบมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคม ใช้วิทยาการแบบสหสาขา เป็นการทำงานในขอบเขตที่กว้างกว่ามิติทางการแพทย์และสาธารณสุข ครอบคลุมไปถึงสุขภาวะอย่างองค์รวม เป็นการทำงานเชิงบวกไม่ใช่ทำเพื่อนำผลไปใช้เพื่อการอนุญาต
ไม่อนุญาตเรื่องต่างๆ ไม่ใช่เครื่องมือเชิงอำนาจหรือเชิงกฎหมาย
กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพที่ดีควรเป็น “กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม” ไม่ใช่การกำหนดนโยบายสาธารณะจากฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียวหรือช่องทางการกำหนดนโยบายสาธารณะแบบปิด
สมัชชาสุขภาพเป็นกระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
มาตรา 42 ในการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติคณะหนึ่งมีจำนวนตามที่ คสช. กำหนด
มาตรา 43 ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มีหน้าที่ในการจัดการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กำหนดวัน เวลา และสถานที่ในการประชุม ซึ่งต้องประกาศให้ประชาชนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันประชุม
มาตรา 41 ให้ คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา 44 ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งใด ให้สมัครลงทะเบียนสำหรับการประชุมครั้งนั้นต่อเจ้าหน้าที่ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกำหนดตามแบบและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกำหนด
มาตรา 40
การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น หรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คสช. กำหนด
มาตรา 45 ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนำไปปฏิบัติหรือนำไปพิจารณาประกอบในการกำหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพให้เสนอต่อ คสช. เพื่อพิจารณาดำเนินการให้บรรลุผลตามควรแก่กรณีต่อไป