Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ, นางสาวประภัสสร แก้วเขียว รหัสนักศึกษา 61102301073…
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
-
หลักการสำคัญของแผน
-
-
-
-
(5) ยึดหลักการนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมายระยะยาว โดยใช้แผนพัฒนาฯ เป็นกลไกเชื่อมต่อในลำดับแรกที่จะกำกับและส่งต่อแนวทางการพัฒนาและเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ให้เกิดการปฏิบัติในทุกระดับและในแต่ละด้านอย่างสอดคล้องกัน
-
-
-
(9) แผนระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข และให้ความสำคัญกับการอภิบาลระบบสุขภาพให้ยั่งยืนลดความเหลื่อมล้ำ จัดระบบบริการสุขภาพให้ครอบคลุม เป็นธรรมเพื่อคนไทยมีสุขภาพแข็งแรง สามารถสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม
-
พันธกิจ
"เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้ง ภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็งรองรับกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต"
เป้าประสงค์
- เพื่อให้คนไทย ชุมชน ท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี สามารถช่วยเหลือ ดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนด้านสุขภาพได้
- เพื่อให้คนไทยทุกช่วงวัย ได้รับการพัฒนาศักยภาพและสร้างเสริมให้มีสุขภาวะที่ดี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพปูองกันโรค และปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ มีการคุ้มครองด้านสุขภาพที่ดี มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี มีระบบการดูแล ผู้สูงอายุที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการได้สะดวกส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีเข้าสู่สังคมสูงวัยได้อย่างมีความสุขลดการตายก่อนวัยอันควร
- เพื่อให้ระบบบริการสุขภาพทุกระดับมีการเพิ่มขีดความสามารถ มีคุณภาพ มาตรฐาน มีระบบบริการที่ทันสมัย มีความพอเพียง มีการกระจายที่เป็นธรรม มีเทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูงที่คนไทยสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวก เหมาะสมทั้งนี้โดยการบูรณาการและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
- เพื่อให้มีระบบการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ มีแผนความต้องการอัตรากำลังคนด้านสุขภาพที่ชัดเจน มีการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของประเทศ
- เพื่อให้มีระบบการอภิบาลด้านสุขภาพมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีกลไกทั้งระดับชาติและระดับพื้นที่ ที่จะทำให้การดำเนินงานงานด้านสุขภาพมีการบูรณาการ มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกัน มีการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างเหมาะสม ส่งผล ให้ระบบสุขภาพมีความยั่งยืน คนไทยได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 1:เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
(P: Health Promotion +Disease Prevention + Consumer & Environmental Protection Excellence)
-
เด็กมี 4H : Head Heart Hand Health
ระดับพัฒนาการเด็กไทย(สมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85)
IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100
EQ สูงกว่าคะแนนมาตรฐานร้อยละ 70
-
-
พฤติกรรมสุขภาพของคนไทย(เปรียบเทียบจากข้อมูลการสำรวจสุขภาพคนไทยครั้งที่ 5)
- อัตราการออกก าลังกาย(เพิ่มขึ้นร้อยละ 50)
- อัตราการบริโภคผัก ผลไม้ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10)
- ความชุกของการสูบบุหรี่ และ บริโภคแอลกอฮอล์ (ลดลงร้อยละ 5)
-
-
อัตราตายก่อนวัยอันควรจากโรคNCD (ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 25)
(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ปอดเรื้อรัง)
-
-
-
-
ยุทธศาสตร์ที่ 3:พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ(People Excellence)
พัฒนาระบบการธำรงรักษากำลังคนด้านสุขภาพโดยปรับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม สะท้อนผลการปฏิบัติงาน สามารถสร้างแรงจูงใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการวางแผนบันได้ความก้าวหน้าอาชีพ และรูปแบบการจ้างงานที่ยืดหยุ่น
วางแผนกำลังคนด้านสุขภาพโดยคำนึงถึงความแตกต่างของบริบทและความต้องการด้านสุขภาพของแต่ละพื้นที่และสอดรับกับ แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านกำลังคนให้ครบถ้วน ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สามารถเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน เพื่อให้ได้ข้อมูล
กำลังคนระดับประเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนและบริหารระบบกำลังคนด้านสุขภาพ HRH tranformation
-
-
-
-