Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปความหมายข้อมูลและสารสนเทศ - Coggle Diagram
สรุปความหมายข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมาของสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลและสารสเทศ
ประกอบไปด้วยขั้นตอนหลักในการ
ทำงานหลายส่วน โดยมีการใช้เทค
โนโลยีททางคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
แบ่งออกเป็นขั้นตอน ดังต่อไปนี้
การนำเข้าข้อมูล
(input)
กระบวนการ
(process)
การเก็บรักษาข้อมูล
(storage)
การแสดงผล
(output)
ระบบสารสนเทศ(Information System : IS)
ระบบที่สามารถจัดการข้อมูลตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้ององค์ประกอบที่สำคัญ มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้
บุคลากร(peopleware)
ข้อมูล (data)
ซอฟต์แวร์ (software)
กระบวนการ (process)
ฮาร์ดแวร์ (hardware)
สารสนเทศ (information)การนำข้อมูลมาประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์ และแปลความหมายออกมาเป็นข้อความที่นำไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย ซึ่งสารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะ ดังนี้
มีความสมบูรณ์ครบท้วน(complete)
มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้(relevancy)
ทันต่อเวลา(Timeline)
สามารถพิสูจน์ได้(verifiable)
มีความถูกต้องมีแม่นยำ(accuracy)
การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
(information processing)
การประมวลผล คือการประ
มวลผลโดยเรียงข้อมูล และ
จัดกลุ่มข้อมูล
ข้อมูลออก คือการจัดทำราย
งาน‚ ข้อมูลสารสนเทศ หรือ
กราฟแสดงข้อมูล
ข้อมูลเข้า คือการข้อมูลต่างๆ
การประมาลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล
1.1การรวบรวมข้อมูล
1.2การตรวจสอบข้อมูล
2.การประมวลผลข้อมูล
2.1การจัดข้อมูล
2.2การจัดเรียงข้อมูล
2.3การสรุปผล
2.4การคำนวณข้อมูล
3.การเก็บรักษาข้อมูล
3.1การเก็บรักษาข้อมูล
3.2การทำสำเนาข้อมูล
3.3การสื่อสารและเผย
แพร่ข้อมูล
3.4การปรับปรุงข้อมูล
4.ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์
ความหมายของข้อมูล
การแบ่งประเภทของข้อมูลขึ้นอยู่กับ
-แหล่งที่มาของข้อมูล
-ลักษณะของข้อมูลที่นำไปใช้
-เกณฑ์การจัดเก็บข้อมูล
ประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาของข้อมูลแบ่งเป็น2ชนิด
1.ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
เป็นข้อมูลที่ได้มาจากผู้ใช้เป็นผู้
เก็บโดยตรง และเป็นข้อมูลที่มี
ความน่าเชื่อถือมากที่สุด
2.ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้
เก็บรวบรวมไว้แล้ว เป็นข้อมูลที่บางครั้ง
อาจถูกแปลรูปไปแล้ว
ข้อมูล (Data) คือสิ่งต่างๆหรือข้อเท็จจริงที่ได้รับจากประสาทสัมผัสหรือสิ่งต่างๆ ที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการต่างๆ
การแบ่งประเภทของข้อมูลตาม
การจัดเก็บ แบ่งได้4 ชนิด คือ
2.ข้อมูลภาพ
4.ข้อมูลภาพเครลื่อนไหว
1.ข้อมูลตัวอักษร
3.ข้อมูลเสียง
การรวบรวมข้อมูล (Data Compilation)
เป็นการเอาข้อมูลต่างๆมาวิเคราะห์ต่อโดย
แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.วิธีเก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิ(การ
เก็บข้อมูลด้วยตนเอง
2.วิธีเก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิ(การ
เก็บข้อมูลที่ได้จากผู้อื่นหรือมี
แหล่งที่มา)
การรวบรวมข้อมูลแบบปฐมภูมิ
คือ การเก็บรวบรวมด้วยตนเอง เช่น
การสังเกต (Observation)
การสัมภาษณ์ (Interview)
การทดลอง (Experiment)
การรวบรวมข้อมูลแบบทุติยภูมิ คือ การน าข้อมูลจากแหล่งที่มาอื่นๆ ที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้มาใช้
เทคนิคการนำเสนอข้อมูล
และสารสนเทศ
จัดวางให้เหมาะสม
ใช้สีสันและกราฟฟิกช่วยนำเสนอ
ตัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นออก