Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 การวางแผนครอบครัว, นางสาวทิมตา สุวรรณกลาง รหัส 621001033 -…
หน่วยที่ 2
การวางแผนครอบครัว
การคุมกำเนิด
การคุมกำเนิด ( contraception ) หมายถึง การป้องกันการปฏิสนธิของไข่และอสุจิ
คุณสมบัติที่ดีของการคุมกำเนิด
Effective >> มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันการตั้งครรภ์
Safe >> ปลอดภัยไม่มีอาการแทรกซ้อนรุนแรง ไม่อันตรายแม้จะใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
Reversible >> เมื่อเลิกใช้แล้วต้องมีภาวะเจริญพันธุ์ภายหลังคุมกำเนิด
Simple and convenient >> ใช้ง่ายและสะดวก
Acceptable >> เป็นวิธีที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ยอมรับ
Inexpensive >> ราคาถูก
ประเภทการคุมกำเนิด
การคุมกำเนิดมี 2 ประเภท
‘‘ชั่วคราว’’
ฮอร์โมน,- ใช้สิ่งกีดขวาง,- คุมกำเนิดโดยวิธีธรรมชาติ
ยาเม็ดคุมกำเนิด (ฮอร์โมนเดียว ; mini-pill)
• ใช้ในรายที่มีข้อห้ามของ estrogen,• มารดาหลังคลอด เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ยาเม็ดคุมกำเนิด (ฮอร์โมนเดียว ; ฮอร์โมนสูง)
‘‘เรียกว่า ยาคุมฉุกเฉิน’’ • ถูกข่มขืน,• ผิดพลาดในการใช้วิธีคุมกำเนิดอื่นๆ
• ยาฉีดคุมกำเนิด
-DMPAออกฤทธ์ินาน3เดือน
-NET-ENออกฤทธ์ินาน2เดือน
• ยาฝังคุมกาเนิด
ปัจจุบันนิยมใช้ImplanonNXTชนิด1 หลอดบรรจุตัวยาEtonogestrel68 มิลลิกรัม คุมกำเนิดได้ 3 ปี
ห่วงอนามัย >> ขัดขวางพัฒนาการของไข่ ทำให้ไม่เกิดการปฏิสนธิ
ถุงยางอนามัย >> ใช้คุมกำเนิดและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
1.การงดร่วมเพศ
2.การนับระยะปลอดภัย การนับระยะปลอดภัยจากปฏิทิน,สังเกตมูกบริเวณปากช่องคลอด,การหลั่งน้ำอสุจินอกช่องคลอด,การควบคุมไม่ให้มีการหลั่งน้ำอสุจิ
‘‘ถาวร’’
• ทำหมันหญิง,•ทำหมันชาย
การทำหมันหญิง
-การทำหมันหลังคลอดหรือหมันเปียกทำในระยะหลัง
คลอดประมาณ 24-48 ชั่วโมง
-การทำหมันแห้งเป็นการทำหมันในช่วงเวลาปกติหรือหลังคลอดมากกว่า 6 สัปดาห์
การทำหมันชาย
การทำหมันชายเป็นการทำให้ท่ออสุจิทั้ง 2 ข้างอุดตันทำ ให้เชื้ออสุจิผ่านไปไม่ได้ทำได้ง่ายปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพการคุมกำเนิดสูง
การให้คำปรึกษาก่อนสมรส
ส่งเสริมให้ชีวิตคู่ มีความเข้าใจซึ่งกัน และกัน
เพื่อช่วยให้การครองคู่มีความสุขมากข้ึน
เพื่อให้มีความรู้และแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพ
โดยเฉพาะโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคทางพันธุกรรม
เพื่อให้คู่สมรสมีความรู้เก่ียวกับการวางแผนครอบครัว สามารถวางแผนได้อย่างเหมาะสม
หลักการให้คำปรึกษา
สร้างบรรยากาศให้รู้สึกอบอุ่นเป็นกันเอง
ผู้ขอคำปรึกษาก่อนสมรสควรมีความพร้อม
ทั้ง 2 ฝ่าย
ให้ข้อมูลที่จำเป็นและถูกต้อง
ให้ผู้รับคำปรึกษาเป็นผู้ตัดสินใจ
อาจต้องแยกให้คำปรึกษาฝ่ายชาย หญิง เป็นบางกรณี
การวางแผนครอบครัว
การวางแผนการตั้ง ครรภ์ไว้ล่วงหน้า
กำหนดการมีบุตรได้ตามความ ต้องการจำนวนบุตรและอายุห่าง ตามความเหมาะสม
เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อมของแต่ละครอบครัว
ขั้นตอนการวางแผนครอบครัว
ซักประวัติ
ความเจ็บป่วย,การได้รับวัคซีน,ประจำเดือน,เพศสัมพันธ์,การตั้งครรภ์,การคุมกำเนิด
ตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป,ชั่งน้ำหนัก,วัดส่วนสูง,ประเมิน v/s บางกรณีอาจมีการตรวจภายใน
Lab
ตรวจเลือดคัดกรองโรคเบาหวาน,โลหิตจาง,ธารัสซีเมีย,ไวรัสตับอักเสบบี,เอดส์,ซิฟิลิส
ให้คำปรึกษาเรื่องเพศ
ใช้หลัก 5 C
Confidence,Comfort,Compassion,Communication,Consultation
ให้คำปรึกษาการคุมกำเนิด
วิธีการคุมกำเนิดชนิดต่างๆ
ให้คำปรึกษาปัญหาทางพันธุกรรม
กรณีมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคทางพันธุกรรม ต้องให้คำแนะนำเพื่อให้ตระหนักถึงความเสี่ยงของการมีบุตรผิดปกติ
ให้คำปรึกษาภาวะมีบุตรยาก
พบปัญหาได้มากในคู่สมรสที่แต่งงานช้าหากพบปัญหาอาจมีการส่งต่อเพื่อใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธ์ุ
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาชีวิตสมรส
ให้คำปรึกษาเพื่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน สามารถใช้ชีวิตคู่ได้อย่างมีความสุข
การให้คาปรึกษาครอบครัว
ที่มีปัญหามีบุตรยาก
ภาวะมีบุตรยาก (inferility) หมายถึง คู่สมรสที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันสม่ำเสมอ โดยไม่ได้คุมกำเนิดเป็นเวลา 1 ปี แล้วยังไม่สามารถมีบุตรได้
ภาวะมีบุตรยาก (ชาย)
สุขภาพกาย >> มีโรคประจำตัว, มีคู่หลายคน ,ติดสิ่งเสพติด ,โรคคางทูม, กามโรคเป็นต้น
สุขภาพจิต >> ความวิตกกังวล, ความเครียด, ความกลัวอย่างรุนแรง
ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์ >> เซลล์สร้างอสุจิไม่เจริญ, ลูกอัณฑะไม่ลงในถุงอัณฑะ
ความผิดปกติในการทำงานของต่อมไร้ท่อ >> เนื้องอกในสมอง หรือต่อมใต้สมอง ,ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
ภาวะมีบุตรยาก (หญิง)
สุขภาพกาย >> มีโรคประจำตัวเรื้อรัง
สุขภาพจิต >> ความวิตกกังวล, ความเครียด, โรคระบบประสาท
ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์ >> ความผิดปกติของท่อนำไข่, รังไข่, มดลูก, มีเยื่อผังผืด, เนื้องอกที่ไปเบียดท่อนำไข่
ความผิดปกติในการทำงานของต่อมไร้ท่อ >> เนื้องอกในสมอง, ความเครียด , ภาวะอ้วน,ภาวะทุพโภชนาการ
เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
การผสมเทียม (artificial insemination)
การทำเด็กหลอดแก้ว
(in vitro fertilization and embryo transfer, IVF-ET)
การนาไข่และอสุจิรวมกันในท่อนำไข่
(gamete intrafallopian tubal transfer, GIFT)
การฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่
(intra cytoplasmic sperm injection, ICSI)
การย้ายตัวอ่อนระยะ2 เซลล์ (zygote intrafallopian tubal transfer, ZIFT)
Blastocyst Culture
ประเด็นจริยธรรม
เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์
‘‘พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดจากการอุ้มบุญ’’
• หญิงรับตั้งครรภ์แทนต้องมีสัญชาติไทย ในกรณีที่สามีหรือภรรยาไม่ใช่สัญชาติไทย ต้องจดทะเบียนสมรสมาแล้ว ไม่น้อยกว่า3 ปี
• หญิงรับตั้งครรภ์แทนต้องไม่มีความสัมพันธ์เป็นแม่หรือลูก
• หญิงรับตั้งครรภ์แทนต้องเป็นญาติสืบสายโลหิตของสามีหรือภรรยาในกรณีที่ไม่มีญาติ
สืบสายโลหิตให้หญิงอื่นรับตั้งครรภ์แทนได้
• หญิงรับตั้งครรภ์แทนต้องเป็นหญิงท่ีเคยมีบุตรมาก่อนแล้ว เท่านั้น
• กรณีท่ีหญิงรับตั้งครรภ์แทนมีสามีต้องได้รับความยินยอมจากสามีด้วย
นางสาวทิมตา สุวรรณกลาง รหัส 621001033