Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข - Coggle Diagram
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคเป็นเลิศ
(Prevention & Promotion Excellence)
เป้าหมายการพัฒนา :
2) มีระบบปูองกัน ควบคุมโรค ระบบเฝ้าระวังโรคที่สามารถตอบสนองได้ทันที
1) ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพที่ดี
3) มีระบบคุ้มครองผู้บริโภคที่มีประสิทธิภาพ
4) มีระบบการบริการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพของประชาชน
5) ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันโรค
แผนงาน :
แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
แผนงานที่ 2 การปูองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แผนงานที่ 3 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โดยมีระบบตอบสนองต่อภัยสุขภาพต่างๆ ตลอดจนมีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพที่ดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีส่งผลให้อายุขัยเฉลี่ยและคุณภาพชีวิตดีขึ้น
ตัวชี้วัด:
1) พัฒนาการเด็กสมวัยมากกว่า ร้อยละ 85
2) อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 34 ต่อพันประชากร
3) ผู้สูงวัยปลอดภัย มั่นคง แข็งแรง (Healthy Aging) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 89
4) ความชุกของผู้สูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป ไม่เกินร้อยละ 16
5) การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 11 ต่อแสนประชากร
8 ) ลดจานวนผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีและมะเร็งตับไม่เกิน 12,000 ราย
9) ลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ไม่เกิน 1,000 ราย/ปีและไม่มีทารกคลอดติดเชื้อ
10) ลดจานวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ร้อยละ 12.5/ปี
11) อำเภอปลอดจากโรคมาลาเรียร้อยละ 85 1 2) ประเทศไทยไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคโปลิโอ
6) การบริโภคแอลกอฮอล์ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ไม่เกิน 6.54 ลิตร/คน/ปี
7) ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา (3 month remission rate) ไม่เกินร้อยละ 96
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา :
1) พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพโดยการพัฒนาศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
2) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการ (ANC /WCC /NCD)
3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรายบุคคล และเชื่อมโยงระบบข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาศักยภาพบุคลากร
5) เสริมสร้างความเข้มแข็งของปูองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
6) ส่งเสริมและสนับสนุน สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
7) ผลักดันและบังคับใช้กฎหมาย
8) บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
9) สนับสนุนการมีส่วนร่วมของเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
เป้าหมายการพัฒนา :
1) มีหมอครอบครัวดูแลประชาชนทุกครัวเรือน
2) มีระบบบริการสุขภาพที่ได้คุณภาพมาตรฐาน
3) มีระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ
4) มีเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ทันสมัยและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล
5) มีความร่วมมือทั้งระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและหน่วยงานต่างประเทศโดยเฉพาะในการป้องกันและรักษาโรคที่มีความสำคัญ
แผนงาน :
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
แผนงานที่ 4 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 5 การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ
แผนงานที่ 6 ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข
วัตถุประสงค์: เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพครอบคลุมทั่วถึงลดความเหลื่อมล้ำของผู้รับบริการในด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมทั้งมีระบบการส่งต่อที่มีคุณภาพเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างเท่าเทียมกัน
ตัวชี้วัดระยะ 5 ปี :
1) จัดตั้งคลินิกหมอครอบครัว 3 ,250 ทีม ดูแลประชาชน 32.5 ล้านครอบครัว ผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 3,250 คน
2) ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงร้อยละ 5 ต่อปี/ผู้ป่วยความดันรายใหม่ ลดลงร้อยละ 2.5 ต่อปี เทียบกับปีงบประมาณ
3) โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลผ่านเกณฑ์ขั้น 3 มากกว่าร้อยละ 80
4) คัดกรอง CVD Riskผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันร้อยละ 90
5) อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองน้อยกว่า ร้อยละ 7
6) อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกินร้อยละ 24
7) โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพร้อยละ 90
8) ประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95.5
9) โรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA ร้อยละ 10 แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560 – 2564 หน้า 87
10) อัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งตับ ไม่เกินร้อยละ 23.7 /โรคมะเร็งปอด ไม่เกินร้อยละ 19
11) อัตราตายจากการบาดเจ็บ น้อยกว่า ร้อยละ 1
12) รพ.สต. ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ห้าดาว ร้อยละ 100
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา:
1) พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster) โดยให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแล ทุกครัวเรือน
2) พัฒนาระบบบริการตามแผนพัฒนาบริการสุขภาพ (Service Plan)ที่ครอบคลุมทุกระบบ ในการให้บริการทุกพื้นที่
3) พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและพัฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อทุกระดับให้มี ประสิทธิภาพ
4) ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก ภูมิปัญญาและสมุนไพรไทย
5) สนับสนุนหน่วยงานบริการด้านสุขภาพให้ได้มาตรฐานสากล
6) ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมด้านสุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์
7) สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
เป้าหมายการพัฒนา:
1) วางแผนอัตรากำลังให้สอดคล้องกับกรอบความต้องการอัตรากำลังคนของประเทศ
2) กระจายสัดส่วนบุคลากรสุขภาพทั้งในเขตเมืองและชนบทให้มีความสมดุลกัน
3) ธำรงรักษากำลังคนด้านสุขภาพ
วัตถุประสงค์: เพื่อให้มีกำลังคนด้านสุขภาพที่เพียงพอและมีคุณภาพมีการกระจายที่เหมาะสม เป็นธรรมและทั่วถึงเพื่อตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนอย่างแท้จริง
แผนงาน :
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัดระยะ 5 ปี:
1) สัดส่วนแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่ (ภาค) แตกต่างกันไม่เกินร้อยละ 15 (แพทย์ 1 : 1,800 ทันตแพทย์ 1: 3,600 เภสัชกร 1: 2,300 พยาบาลวิชาชีพ 1: 300)
2) ดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา:
1) พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
2) ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิต พัฒนาและธำรงรักษากำลังคนด้านสุขภาพ
3) สร้างเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
4) ส่งเสริมและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในระบบสุขภาพ
5) มีระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
แผนงาน :
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 3 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
แผนงานที่ 4 การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 5 การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัดระยะ 5 ปี :
1) หน่วยบริการสามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนฐานข้อมูลสุขภาพได้ ร้อยละ 100
2 ) ไม่มีหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7
3) หน่วยงานนำผลงานวิจัย/R2R นำไปใช้ประโยชน์ร้อยละ 40
4) หน่วยงานในสังกัดสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมิน ITA ร้อยละ 90
5) จำนวนงานวิจัยสมุนไพร/งานวิจัยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกที่นำมาใช้จริงทางการแพทย์หรือการตลาดไม่น้อยกว่า 15 เรื่อง
เป้าหมายการพัฒนา :
1) วางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรในทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพโดยไม่
มีความเหลื่อมล้ำของคุณภาพบริการในแต่ละระบบ
2) มีการบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
3) สร้างและพัฒนากลไกการดุลด้านการเงินการคลังสุขภาพ
4) มีระบบเทคโนโลยีดิจิตอลด้านสุขภาพ
5) มีการท าวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา :
1) พัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ
2) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลบริการ และเชื่อมโยงระบบข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (big data)
4) บริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
5) พัฒนาและส่งเสริมงานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพอย่างครบวงจร แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560 – 2564 หน้า 165
6) ปรับปรุงโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
7) ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง
8) ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
วัตถุประสงค์: เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลงและยั่งยืนด้วยการบริหารจัดอย่างอย่างมีธรรมาภิบาล ระบบบริหารจัดการที่โปร่งใสเป็นธรรมตรวจสอบได้