Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ประชากรและแนวโน้มผู้สูงอายุ
ความหมายและประเภทของผู้อายุ
ความหมายและประเภท
ความหมาย
ประเทศไทย
อายุเกินกว่า60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย
องค์การสหประชาชาติ
อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป
“สังคมผู้สูงอายุ” องค์การสหประชาชาติ แบ่งเป็น3ระดับ
1.สังคมสูงอายุ (Aging Society) มีความหมายอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นสังคมที่สูงอายุแล้ว(Aged Society)
2.สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)
3.สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-aged Society)
องค์กรอนามัยโลก
นับจากอายุ 65 ปีขึ้นไป
ประเภท
ผู้สูงอายุติดบ้าน
ผู้สูงอายุติดเตียง
ผู้สูงอายุติดสังคม
สามารถแบ่งออกเป็น 4 ช่วง
The very old-old (ช่วงแก่จริง ๆ) อายุประมาณ 90 ปีขึ้นไปผู้ที่มีอายุยืน ถึงขั้นนี้มีจำนวนค่อนข้างน้อยเป็นระยะที่มีปัญหาทางสุขภาพ
The old-old (ช่วงแก่จริง ) อายุประมาณ 80-90 ปี
ความสามารถในการปรับ ตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมยากขึ้นเพราะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับคนอายุขั้นนี้ต้องมีความเป็นส่วนตัวมากขึ้น
The middle-aged old (ช่วงแก่ปานกลาง) อายุประมาณ 70-79
ปี เป็นช่วงเริ่มเจ็บป่วยเข้าร่วมกิจกรรมของสังคมน้อยลง
The young-old (ช่วงไม่ค่อยแก่) อายุประมาณ 60-69 ปี
เป็นช่วงที่ต้องประสบกับความเปลี่ยนแปลงของชีวิตที่เป็นภาวะวิกฤตหลายด้าน
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
อัตราการพึ่งพาของประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น
อัตราการพึ่งพาของประชากรวัยเด็กลดลง
การเปลี่ยนแปลงประชากรส่งผลให้ภาระพึ่งพิงสูงขึ้น
เจตคติการดูแลผู้สูงอายุ
เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ
ให้การแลด้วยความรัก ความเคารพ ยกย่องดู
แลเอาใจใส่ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นยอมรับ ข้อจำกัด และความสามารถ ของผู้สูงอายุ
จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
จริยธรรมคือ ความประพฤติที่ดีเป็นธรรมชาติเกิดจากคุณธรรมในตนเองก่อให้เกิดความเรียบร้อยในสังคม
2.เข้าใจในการจํากัดของผู้สูงอายุ
ที่เกิดขึ้นตามวัย และประสบการณ์
3.เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจเรื่องที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้สูงอาย
1.ให้ความเคารพยกย่อ่งในความมีศักดิศรีและความภาคภูมิใจของผู้สูงอายุ
4.ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความรู้สึกของผู้ดูแล
ที่เข้าใจและห่วงใยผู้สูงอายุ
5.มีความมั่นคงทางอารมณ์และยึดมั่นในความดีจะเกิดขึ้นจากผลของการปฏิบัติที่ดีอย่างต่อเนื่อง
จริยธรรม (Ethics) คือ ข้อควรประพฤติปฏิบัติเกิดจาก
คุณธรรมในตัวเอง เป็นผู้มีจิตใจสะอาด บริสุทธิ์เสียสละหรือประพฤติดีงาม
แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทพยาบาลผู้ดูแลครอบครัว สังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ
บทบาทของพยาบาล
3) บทบาทผู้ให้การศึกษา (educator)
4) บทบาทนักวิจัย (researcher)
2) บทบาทผู้ปฏิบัติ (implementer)
5) บทบาทเป็นผู้ให้คำปรึกษา (consultant)
1) บทบาทผู้บำบัดรักษา (healer)
6) บทบาทผู้สนับสนุน (advocate)
7) บทบาทผู้คิดค้นสิ่งใหม่ (innovator)
บทบาทของผู้ดูแล
ผู้ดูแล คือ “ผู้ให้การดูแลในกิจกรรมลักษณะต่างๆ ที่บ้าน โดยไม่ได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทน
ผู้ดูแล คือ “ใครบางคนที่ให้การดูแลญาติหรือเพื่อนที่เจ็บป่วย
ผู้ดูแล คือ “ญาติหรือบุคคลที่ให้ความช่วยเหลือ ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน มีความสัมพันธ์กันแบบญาติ
บทบาทของครอบครัวและสังคม
2) บทบาทการดูแลที่ตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์และจิตใจ
3) บทบาทการดูแลที่ตอบสนองความต้องการด้านเศรษฐกิจ
1) บทบาทในการดูแลที่ตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย
4) บทบาทในการตอบสนองความต้องการด้านสังคม