Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม,…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่งอักเสบ (appendicitis)
สาเหตุ, พยาธิสภาพ
มีเศษอุจจาระแข็งๆ
"นิ่วอุจจาระ" (fecalith)
อุดกั้นอยู่ภายในรูของไส้ติ่ง
เชื้อแบคทีเรียเจริญ
รุกล้ำเข้าไปในผนังไส้ติ่ง
เกิดการอักเสบตามมา
ผนังไส้ติ่งก็เกิดการเน่า
ตายและแตกทะล
อาการและอาการแสดง
อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดอาจจะเพียงเล็กน้อยหรือมาก
ปวดตื้อๆ ตลอดเวลาหรืออาจปวดมากเป็นพักๆ
อาจมีท้องผูก หรือท้องเสีย
กดเจ็บ และท้องแข็ง
ไข้อาจสูงถึง 38.3 องศา
หากไม่ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง และไม่ได้รับการรักษา
แตกทะลุ
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (peritonitis)
ก้อนถุงหนอง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกายจากอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูง
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การตรวจ CT scan
แนวทางการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
หากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด laparotomy
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ถุงน้ำรังไข่ (ovarian cyst)
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum
ก้อนเนื้อนั้นกลายเป็นมะเร็งรังไข่ได้ 1:25,000
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่
ภาวะท้องมานน้ำ
มีการคลอดยาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจ MRI
ผลกระทบ
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
คลอดยาก
การรักษา
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic)
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
4.อาจพิจารณาการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องร่วมกับนำก้อนเนื้องอกออก
หากผลการชันสูตรพบว่าเป็นมะเร็งรังไข่ และมารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัด
การช่วยฟื้นคืนชีพสตรีตั้งครรภ์
(pregnancy resuscitation)
การตอบสนองขั้นแรก (First responder)
แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
เริ่มทำการ chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequent responders)
ดูแลและช่วยเหลือในการช็อคไฟฟ้า (defibrillation) ทันที
ดูแลให้ได้รับชนิดยา ขนาด ปริมาณและวิถีทางที่ให้ยาให้ถูกต้อง
ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen ทางท่อทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับการติด Monitor waveform capnography
ดูแลและประเมินให้กระบวนการ CPR มีคุณภาพ
ให้ IV fluid เหนือ diaphargm
ประเมินภาวะ Hypovolemia และดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลและจัดการให้ท่อทางเดินหายใจโล่ง
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
(nursing care among pregnancy with surgery)
การประเมิน
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การฟังเสียง FHR การบันทึกการดิ้นของทารก
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ดูแลให้งดอาหารและน้ำทางปาก
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
ขณะผ่าตัด
จัดท่าในการผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM
หลังการผ่าตัด
ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ประเมินและบันทึก FHS โดยการติดเครื่อง EFM
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
เมื่อจำหน่ายกลับ
ประเมินผู้ให้การดูแล (care giver) ตัวของสตรีตั้งครรภ
ให้ความรู้
การดูแลแผลผ่าตัด
การรับประทานอาหาร
การเผาผลาญที่อาจได้รับผลกระทบ
การประเมินภาวะไข
การติดเชื้อ
อาการและ
อาการแสดงถึงภาวะแทรกซ้อน
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (myoma uteri)
Myoma Uteri
ก้อนของกล้ามเนื้อที่จับตัวเป็นก้อนกลมๆ
เป็นการเปลี่ยนแปลงตามอายุ
2)โตขึ้น 1 ใน 3
3) เล็กลง 1 ใน 3
1)ขนาดเท่าเดิม
Adenomyosis
เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเข้าไปใน
กล้ามเนื้อมดลูก
แทรกอยู่ตามกล้ามเนื้อ
การฝ่อจะทำให้ก้อนเนื้อกลายเป็นน้ำและแตกได้
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการ
การปวดจะสัมพันธ์กับอายุ
ครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
ภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายคลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
การซักประวัติ โดยเฉพาะประวัติทางนรีเวช
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจ MRI
ผลกระทบ
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
อาการปวดท้องรุนแรงมากขึ้น
ระยะคลอด
คลอดยาก
มีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ด
ตกเลือดหลังคลอด
การตัดมดลูก
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic myomectomy)
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นำส่งตรวจพยาธิวิทยา
พิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ภาวะลำไส้อุดกั้น (bowel obstruction)
พยาธิสภาพ
อุดตันของลำไส้จากพังผืด (adhesions)
การบิดของลำไส้ (volvulus)
การตีบ ก้อนเนื้องอก หรือไส้เลื่อน
ขยายของมดลูก
การดูดซึมสารอาหารของลำไส้ที่ลดลง
การไหลเวียนเลือดในร่างกายจะเพิ่มขึ้น
จะบวม และมีการแข็งของเศษอาหาร
การบีบตัวของ
ลำไส้อาจเพิ่มขึ้น
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก (constipation) ถ่ายยาก ถ่ายลำบาก ถ่ายไม่ออก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพักๆ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีอาการปวดเมื่อคลำ
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC, electrolyte
X-Ray, MRI
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
การอักเสบและติดเชื้อ
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัยท์
ไต
ปริมาตรเลือดต่ำจากการเสียเลือด
ช็อก
เสียชีวิต
ทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
คลอดน้ำหนักตัวน้อย
ภาวะคับขัน
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ใส่สาย Nasogastric tube
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์
โดยใส่เครื่อง EFM
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
พิจารณาการผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศ
ดูแลภาวะท้องผูก (constipation) ภายหลังการผ่าตัด
ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลำไส้อุดกั้นได้อีก
ติดตามและป้องกันภาวะลำไส้ตาย (bowel necrosis)
ถุงน้ำดีอักเสบ (cholecystitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
ปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา
คลื่นไส้อาเจียน
ภายหลังการรับประทานอาหารที่มีไขมัน
มีไข้ และตัวเหลือง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายพบ colicky sign
ปวดมากบริเวณ right-upper
quadrant or epigastrium
การตรวทางห้องปฏิบัติการ
ความเข้มข้นของเลือด
U/A
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Radiographic diagnostic
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การทำ Laparoscopic for cholecystectomy
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
Analgesia; morphine
ให้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum
ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
การได้รับอุบัติเหตุและบาดเจ็บ
(trauma during pregnancy)
ชนิดของการบาดเจ็บ
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้น
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
ผลกระทบ
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัว
ก่อนกำหนด
มดลูกแตก
ทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บ
ทารกตายในครรภ์
ทารกตายคลอด
การพยาบาล
Immediate care
Minor trauma
Major trauma