Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม …
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่งอักเสบ(appendicitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากมีเศษอุจจาระแข็งๆ เรียกว่า นิ่วอุจจาระลงไปอุดกั้นอยู่ภายในรูของไส้ติ่ง แล้วทําให้เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในรูไส้ติ่งเกิดการเจริญรุกล้ำเข้าไปในผนังไส้ติ่ง จนเกิดการอักเสบตามมา
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการ ปวดตื้อๆ
ท้องผูก หรือท้องเสีย
ท้องแข็ง (guarding)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
คลอดก่อนกําหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบเม็ดเลือดขาวสูง
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจ CT scan
การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แนวทางการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
กรณีที่อาการไม่รุนแรงพิจารณาทําการผ่าตัด laparotomy เพื่อทํา laparoscopic
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทํา appendectomy
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
การได้รับอุบัติเหตุและบาดเจ็บขณะตั้งครรภ์ (trauma during pregnancy)
ชนิดของการบาดเจ็บที่พบระหว่างการตั้งครรภ์
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้นพบการบาดเจ็บจากความรุนแรง ได้บ่อยขึ้นในขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกแตก
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
ทารกตายในครรภ์ ทารกตายคลอด
พยาธิวิทยา
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์ จากการกระทบกระเทือนของช่องท้องส่วนล่างและระบบอวัยวะสืบพันธุ์
Abruptio placenta ภายในเวลา 48 ชม.
Pelvic fracture อาจพบภาวะของ bladder trauma
Uterine rupture เกิดการฉีกขาด หรือแตกขณะได้รับบาดเจ็บ
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา จะทําให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดํา
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการบาดเจ็บ
Minor trauma
Major trauma
ควรมีการประเมินสภาพร่างกายทั่วไปตามระบบต่างๆว่าอยู่ในสภาพปกติหรือไม่
ให้การดูแลตามกระบวนการเศร้าโศกและสูญเสีย
ช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs ควรประเมินแบบ systematic evaluation ก่อนให้การดูแล
Immediate care
ให้การดูแลทารกในครรภ์ต่อไป
ทีมให้การพยาบาลต้องทําการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัยครบถ้วนสมบูรณ์
การพยาบาลควรคํานึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา
การช่วยฟื้นคืนชีพสตรีตั้งครรภ์ (pregnancy resuscitation)
การช่วยฟื้นคืนคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น มีหลักในการปฏิบัติที่แตกต่างจากบุคคลทั่วไป
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequentresponders)
การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา
ดูแลให้ได้รับการติด Monitor waveform capnography
ให้ IV fluid เหนือ diaphargm
ดูแลและช่วยเหลือในการช็อคไฟฟ้า (defibrillation) ทันที
ประเมินภาวะ Hypovolemia และดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen ทางท่อทางเดินหายใจ
การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์
ถอด internal และ external fetal monitors ออกก่อน
นวดหัวใจด้วยมือ โดยจัดให้มดลูกเลื่อนขึ้นไปด้านบนซ้ายของลําตัว เพื่อลดการกดทับหลอดเลือด aortocaval
การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
ภายหลังการช่วยฟื้นคืนชีพไปแล้วเป็นเวลา 4 นาที และไม่พบสัญญาณชีพปรากฏให้ทําการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทันที
ตั้งเป้าหมายให้คลอดภายใน 5 นาที นับจากเวลาที่เริ่มช่วยฟื้นคืนชีพ
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นแรก (Firstresponder)
จัดท่านอน supine
เริ่มทําการ chest compressions
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
แจ้ง maternal cardiac arrest team
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (myoma uteri)
เนื้องอกที่กล้ามเนื้อมดลูก มี 2 ลักษณะ
เนื้องอกที่หนาตัวเป็นก้อน เรียกว่า ไมโอมา (Myoma)
เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด เรียกว่า อะดิโนไมโอสิส (adenomyosis)
อาการและอาการแสดง
พบภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ์ได้
ตรวจครรภ์พบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
คลําท่าทารกได้ยาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีเลือดออกทางช่องคลอด
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจ MRI
การตรวจร่างกายคลําพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์คลําท่าทารกได้ไม่ชัดเจน
ผลกระทบ
ระยะคลอด
คลอดยาก และมีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี ตกเลือดหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกําหนด รกลอกตัวก่อนกําหนด
การรักษา
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นําส่งตรวจพยาธิวิทยาเพื่อการวินิจฉัยต่อไป
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ ควรทําเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
ภาวะลําไส้อุดกั้น(bowelobstruction)
พยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดตันของลําไส้จากพังผืด การบิดของลําไส้ การตีบ ก้อน เนื้องอก หรือไส้เลื่อน ลําไส้ที่มีการอุดกั้นจะบวม และมีการแข็งของเศษอาหารและอุจจาระในส่วนที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามการบีบตัวของลําไส้ทําให้มีการตีบของลําไส้
อาการและอาการแสดง
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ท้องผูก ถ่ายยาก ถ่ายลําบาก ถ่ายไม่ออก
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพัก ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
คลื่นไส้และอาเจียน และมีอาการปวดบิดท้องเป็นพักๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC,electrolyte,X-Ray,MRI
การตรวจร่างกาย
มีอาการปวดเมื่อคลําทางหน้าท้อง
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
การอักเสบและติดเชื้อ มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
เสียเลือด ช็อก และเสียชีวิต
ต่อทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกําหนด
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน ทารกเสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์ โดยใส่เครื่อง EFM
ใส่สาย Nasogastric tube เพื่อการระบาย gastric content
ติดตามและป้องกันภาวะลําไส้ตาย (bowel necrosis) ภายหลังการผ่าตัด
ให้งดอาหารและน้ํา
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด (nursingcareamongpregnancywithsurgery)
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
ทําให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวมีความกังวลต่อผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นต่อการตั้งครรภ์และสุขภาพของทารกในครรภ์
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
NPO
การพยาบาลขณะผ่าตัด
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM ระหว่างการผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา และเตรียมให้ออกซิเจนทันทีระหว่างการผ่าตัด ที่พบภาวะ fetal distress
จัดท่าในการผ่าตัด หากเป็นไปได้ควรจัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อย กึ่งตะแคงซ้าย
การดูแลหลังการผ่าตัด
ประเมินและบันทึก FHS โดยการติดเครื่อง EFM อย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis เช่น magnesium sulfate
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ถุงน้ํารังไข่ (ovarian cyst)
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์ นอกจากนี้ยังจะพบภาวะของ ovarian cyst /tumor ที่โตขึ้น
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่โดยอาการปวด
มีภาวะท้องมานน้ํา
ในระยะคลอดพบว่ามีการคลอดยาก
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
คลอดก่อนกําหนด
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดยาก
การรักษา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
หากวินิจฉัยล่าช้าและก้อนยังใหญ่ไม่มาก และการตั้งครรภ์สามารถดําเนินต่อไปจนครบกําหนด
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
หากผลการชันสูตรพบว่าเป็นมะเร็งรังไข่ และมารดาต้องได้รับยาเคมีบําบัด ให้งด breast feeding
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic) เพื่อตัดก้อนเนื้องอกออก
ถุงน้ําดีอักเสบ (cholecystitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
การเพิ่มขนาดของมดลูก ทําให้เกิดแรงดันและกดเบียดทําให้การไหลเวียน และระบายของถุงน้ําดีไม่ทําให้ muscle tone และความยืดหยุ่นในถุงน้ําดีลดลง
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องที่เป็นพักๆ
คลื่นไส้อาเจียนภายหลังการรับประทานอาหารที่มีไขมัน
มีไข้
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
และคลอดก่อนกําหนด
เสี่ยงต่อการแท้ง
การรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
ให้ยาปฏิชีวนะ กลุ่ม broad-spectrum
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ให้งดอาหารและน้ํา