Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข - Coggle Diagram
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข คืออะไร ??
เป็นแนวทางในการดำเนินงานของหน่วยงานภายในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในการพัฒนาระบบสุขภาพเพื่อให้สอดรับกับนโยบายในระดับชาติ รวมไปถึงการปฏิรูปประเทศและปฏิรูประบบสุขภาพ ไปสู่ความเป็นประเทศไทย 4.0 โดยในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2564 ได้คำนึงถึงปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและส่งผลต่อระบบสุขภาพทั้งในปัจจุบันและอนาคต
วิสัยทัศน์ (Vision) : เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพด
พันธกิจ (Mission) : พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน
ค่านิยมองค์กร (Core Values)
M: Mastery คือ เป็นนายตนเอง
P: People centered approach คือ ใส่ใจประชาชน
O: Originality คือ เร่งสร้างสิ่งใหม
H: Humility คือ อ่อนน้อมถ่อมตน
เป้าหมาย (Ultimate Goal) : ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
ตัวชี้วัดหลักระดับองค์การ (Corporate KPIs)
อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy : LE) ไม่น้อยกว่า 77 ปี
อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี Health Adjusted Life Expectancy: HALE ( ) ไม่น้อยกว่า 67 ปี
ดัชนีความสุขของคนท างาน (Happinometer) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ดัชนีสุขภาวะองค์กร (Happy Public Organization Index) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
การเข้าถึง (Access) อัตราการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 70
ความครอบคลุม (Coverage) สัดส่วนแพทย์ 1 คน ต่อประชากร 3,000 คน และ สัดส่วนเตียงของ
มีธรรมาภิบาล (Governance) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านการประเมิน ITA
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 93
มีคุณภาพ (Quality) สถานบริการได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA ร้อยละ 85
ยุทธศาสตร์ 4 Excellence
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคเป็นเลิศ (Prevention & Promotion Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
เป้าหมายการพัฒนา
ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพที่ด
มีระบบปูองกัน ควบคุมโรค ระบบเฝูาระวังโรคที่สามารถตอบสนองได้ทันที
มีระบบคุ้มครองผู้บริโภคที่มีประสิทธิภาพ
มีระบบการบริการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพของประชาชน
ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันโรค
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
แผนงานที่ 2 การปูองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แผนงานที่ 3 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา
เสริมสร้างความเข้มแข็งของปูองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ส่งเสริมและสนับสนุน สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาศักยภาพบุคลากร
ผลักดันและบังคับใช้กฎหมาย
พัฒนาระบบฐานข้อมูลรายบุคคล และเชื่อมโยงระบบข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ด
พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการ (ANC /WCC /NCD)
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของเครือข่าย
พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพโดยการพัฒนาศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ประชาชนได้รับการ บริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพครอบคลุมทั่วถึงลดความเหลื่อมล้ า ของ
ผู้รับบริการในด้านการแพทย์และสาธารณสุข
เป้าหมายการพัฒนา
มีระบบบริการสุขภาพที่ได้คุณภาพมาตรฐาน
มีระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ
มีหมอครอบครัวดูแลประชาชนทุกครัวเรือน
มีเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ทันสมัยและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล
มีความร่วมมือทั้งระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและหน่วยงานต่างประเทศโดยเฉพาะในการ
ปูองกันและรักษาโรคที่มีความส าคัญ
แผนงาน
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
แผนงานที่ 4 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 5 การพัฒนาตามโครงการพระราชด าริและพื้นที่เฉพาะ
แผนงานที่ 6 ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา
สนับสนุนหน่วยงานบริการด้านสุขภาพให้ได้มาตรฐานสากล
ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมด้านสุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์
ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก ภูมิปัญญาและสมุนไพรไทย
สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและพัฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อทุกระดับให้มี
ประสิทธิภาพ
พัฒนาระบบบริการตามแผนพัฒนาบริการสุขภาพ (Service Plan)ที่ครอบคลุมทุกระบบ ในการ
ให้บริการทุกพื้นท
พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster) โดยให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแล
ทุกครัวเรือน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
เป้าหมายการพัฒนา
วางแผนอัตรากำลังให้สอดคล้องกับกรอบความต้องการอัตรากำลังคนของประเทศ
กระจายสัดส่วนบุคลากรสุขภาพทั้งในเขตเมืองและชนบทให้มีความสมดุลกัน
ธำรงรักษากำลังคนด้านสุขภาพ
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้มีก าลังคนด้านสุขภาพที่เพียงพอและมีคุณภาพ มีการกระจายที่เหมาะสม เป็นธรรมและทั่วถึง
เพื่อตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนอย่างแท้จริง
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิต พัฒนา และธ ารงรักษาก าลังคนด้านสุขภาพ
สร้างเครือข่ายการผลิตและพัฒนาก าลังคนด้านสุขภาพ
พัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในระบบสุขภาพ
มีระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลงและยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดอย่างอย่างมีธรรมาภิบาล ระบบบริหาร
จัดการที่โปร่งใสเป็นธรรม
เป้าหมายการพัฒนา
มีการบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการ
สร้างและพัฒนากลไกการดุลด้านการเงินการคลังสุขภาพ
วางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรในทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพโดยไม่
มีความเหลื่อมล้ าของคุณภาพบริการในแต่ละระบบ
มีระบบเทคโนโลยีดิจิตอลด้านสุขภาพ
มีการทำวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
แผนงาน
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ
แผนงานที่ 3 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
แผนงานที่ 4 การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 5 การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
มาตรการ/แนวทางการพัฒนา
พัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ
พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
พัฒนาระบบฐานข้อมูลบริการ และเชื่อมโยงระบบข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (big data)
บริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
พัฒนาและส่งเสริมงานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ อย่างครบวงจร
ปรับปรุงโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง
ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ