Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สาเหตุของการ ทุจริต, Link Title - Coggle Diagram
สาเหตุของการ
ทุจริต
กลุ่มที่1เกิดจากพฤติกรรมความโลภ
พฤติกรรมความโลภเป็นสาเหตุมาจากพฤติกรรมส่วนบุคคล ที่มาจาก
ความโลภ ความไม่พอเพียง โดยเป็นพฤติกรรมส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่รัฐ
ที่ขาดหลักยึดด้านคุณธรรม จนกลายเป็นคนที่เห็นแก่ได้ มีความอยากและ
ความไม่รู้จักพอ การขาดปทัสถาน (Norm) ของความเป็นบุคคลสาธารณะ
(Public Persons) ที่ต้องยึดหลักความเป็นกลาง และความเป็นธรรม
เป็นที่ตั้ง ซึ่งเป็นอุดมการณ์ของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐสมัยใหม่
กลุ่มที่ ๓ เกิดจากการขาดจริยธรรม
การเกิดจากการขาดจริยธรรมเป็นสาเหตุที่มาจากการขาดจริยธรรมส่วนบุคคล รวมถึงประมวลจริยธรรมขององค์กรไม่ได้มีการบังคับใช้ให้เกิดผลโดยสรุปสาเหตุได้จากการขาดคุณธรรม จริยธรรม และขาดเจตจ�ํานงที่แน่วแน่ของฝ่ายการเมืองในการแก้ไขปัญหา และภาคการเมืองขาดความมั่นคงและ
ต่อเนื่อง
กลุ่มที่ ๔ เกิดจากแรงจูงใจและความคุ้มค่าในการเสี่ยง
แรงจูงใจและความคุ้มค่าในการเสี่ยงเป็นสาเหตุที่เกิดจากแรงจูงใจให้ทุจริตและความคุ้มค่าในการเสี่ยงเพราะทุจริตแล้วได้รับผลประโยชน์มากเมื่อเทียบกับความเสี่ยง รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายปราบปรามหรือ
การลงโทษทางสังคมขาดประสิทธิภาพ โดยสรุปสาเหตุหลักๆ ได้ดังนี้
๑) การขาดระบบตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพและเข้มแข็ง ขาดความหลากหลายในการตรวจสอบจากภาคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะ ภาคประชาชน
รวมทั้งการท�าลายระบบตรวจสอบอ�านาจรัฐ
๒) ขาดการประชาสัมพันธ์ การเผยแพร ่ข้อมูลข ่าวสารให้
ประชาชนทราบ
๓) ประชาชนส่วนใหญ่มักจะเบื่อหน่าย วางเฉย ไม่มีปฏิกิริยาต่อพฤติกรรมการใช้อ�ํานาจหน้าที่ที่ไม ่ถูกต้อง ท�ําให้ผู้ทุจริตมีแรงจูงใจและ
รู้เห็นว่าผลตอบแทนที่จะได้รับเมื่อเทียบกับความเสี่ยงนั้นคุ้มค่า จึงแสวงหาและพัฒนาแนวทางการทุจริตที่มีรูปแบบแปลกใหม่
๔) ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานด้านกฎหมาย
และขั้นตอนการอ�ํานวยความยุติธรรม รวมถึงความล่าช้าในการให้บริการและขาดความโปร่งใสของกระบวนการ ท�ําให้ประชาชนรู้สึกเบื่อหน ่ายและ
ขาดความศรัทธาต่อกระบวนการยุติธรรม
๕) ประชาชนขาดแรงจูงใจในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ
ยุติธรรม
กลุ่มที่2เกิดจากการมีโอกาสหรือการที่ระบบ
การทำงานมีช่องว่าง
๓) การถูกบังคับให้รับตามบรรทัดฐานของกลุ่ม (ตามน้ำา)
๔) การอาศัยช่องว่างของระเบียบและกฎหมาย
๒) ความเคยชินของเจ้าหน้าที่ ที่คุ้นเคยกับการที่จะได้“ค่าน้ำาร้อน
น้ำาชา”
๑) การขาดความรู้ความเข้าใจผิด หรือถูกใช้ให้กระทำ
๕) ไม่ปฏิบัติตามกฎและระเบียบ
๖) การทุจริตตามระบบ (Systemic) ด้านงบประมาณ การเงิน
การคลัง และการจัดซื้อจัดจ้าง
๗) เกิดจากการใช้อำนาจ บารมี อิทธิพล หรือตำแหน่งหน้าที่
ราชการที่มีอำนาจในการวินิจฉัย
๘) โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมืองที่อ่อนแอ
๙) โครงสร้างทางเศรษฐกิจมีการผูกขาดของกลุ่มทุนขนาดใหญ่
๑๐) โครงสร้างทางด้านสังคมและวัฒนธรรมที่มีลักษณะเป็นแบบอุปถัมภ์ค่านิยมยกย่องคนมีฐานะร่ำรวย
๑๑) โครงสร้างทางการเมืองที่ต้องอาศัยเงินเป็นก้อนใหญ่ การจ่ายเงินเพื่อซื้อเสียง ทำงานทางการเมือง
๑๒) กระแสทุนทางการเมือง อาทิ โครงการเมกะโปรเจค ถือเป็นการคอร์รัปชันเชิงบูรณาการที่ต้องใช้ทุนในการบริหารจัดการ จัดจ้างที่ปรึกษาการคอร์รัปชันเชิงบูรณาการที่ต้องใช้ทุนในการบริหารจัดการ จัดจ้างที่ปรึกษาวัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีสมัยใหม ่ที่มีคนรอบรู้ในเรื่องเหล ่านี้อยู ่เพียงวงจำกัด ทำให้การทุจริตประพฤติมิชอบเป็นไปได้ง่าย
๑๓) ความไม่เข้มแข็งขององค์กรตรวจสอบปราบปรามของรัฐ
๑๔) เกิดจากการเปิดเสรีการค้าและการลงทุนที่มีการแข ่งขันแย่งจ่ายส่วยหรือสินบน เพื่อให้ได้รับอนุมัติให้นำเข้า หรือได้มาซึ่งใบอนุญาต
๑๕) กฎหมายขาดความสมบูรณ์ในการด�ําเนินงาน
๑๖) การบังคับใช้กฎหมายไทยยังไม่เคร่งครัด และมีช่องโหวตทำให้ขาดความเชื่อมั่นต่อการเข้าร้องเรียนและฟ้องร้อง
Link Title