Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงทางนรีเวชกรรมและศัลยกรรม …
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงทางนรีเวชกรรมและศัลยกรรม :star:
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
ขณะตั้งครรภ์มีการเพิ่มขนาดของมดลูกกดเบียดทำให้การไหลเวียนความยืดหยุ่นในถุงน้ำดีลดลงมีการหนาตัวของท่อน้ำดีเมื่อมีการกดทับเป็นเวลานานจะทำให้มีการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรนที่มีผลต่อภาวะ hypercholesterolemia การอักเสบเกิดจากการอุดกั้นของถุงน้ำดีเกิดภาวะ pancreatitis
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายพบ colicky sign และปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
การตรวทางห้องปฏิบัติการ
3.1 ตรวจความเข้มข้นของเลือด CBC พบมีการเพิ่มของ leukocyte
3.2 ตรวจ U / A อาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
การตรวจพิเศษอื่น ๆ เช่น Radiographic diagnostic
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้งมดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนดและคลอดก่อนกำหนด
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องที่เป็นพัก ๆ สลับหนักและเบา (colicky pain)
คลื่นไส้อาเจียนหลังการรับประทานอาหารที่มีไขมัน
มีไข้และตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การทำ Laparoscopic for choleCystectomy / cholecystectomy
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
Analgesia; morphine
ให้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum กลุ่ม B-lactam ห้ามให้ chloramphenicol และ tetracycline
ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (antispasmodics)
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก tocolytic therapy
ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian tumor)
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
มีการโตของ cystic Corpus luteum ขณะตั้งครรภ์นอกจากนี้ยังจะพบภาวะของ ovarian Gyst / tumor ที่โตขึ้นร่วมกับการติดเชื้ออื่น ๆ ของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกได้ซึ่งมักพบว่ามีขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์โดยพบว่าก้อนเนื้อนั้นกลายเป็นมะเร็งรังไข่ได้ 1.25,000 รายของการตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจพิเศษเช่นการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงการตรวจ MRI
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้งมดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนดคลอดก่อนกำหนดและคลอดยาก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่โดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
การรักษา
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic) เพื่อตัดก้อนเนื้องอกออก (cystectomy) ในกรณีที่ก้อนเนื้อนั้นมีขนาดน้อยกว่า 8 เซนติเมตร
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
หากวินิจฉัยล่าช้าและก้อนยังใหญ่ไม่มากพิจารณาการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องร่วมกับนำก้อนเนื้องอกออก
หากผลการชันสูตรพบว่าเป็นมะเร็งรังไข่และมารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัดให้งด breast feeding
การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์ (Trauma during pregnancy)
ชนิดของการบาดเจ็บที่พบระหว่างการตั้งครรภ์
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้น
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้งมดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนดคลอดก่อนกำหนดรกลอกตัวก่อนกำหนดมดลูกแตกทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บทารกตายในครรภ์ทารกตายคลอด
พยาธิวิทยา
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา (head injury) จะทำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดำ
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์ (retroperitoneal hemorrhage) จากการกระทบกระเทือนของช่องท้อง
การพยาบาลสตรีคั้งครรภ์ที่ได้รับการบาดเจ็บ
Immediate care
คำนึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา
ช่วยฟื้นฟูคืนชีพช่วยชีวิตมารดาเป็นอีันดับเเรก
ประเมินความอปลอดภัย เเละรวดเร็ว ครบถ้วน
Major trauma
ช่วยฟื้นคืนชีพเเบบABCs
ประเมินสภาพร่างกายในด้านต่างๆ
ดูเเลกระบวนการเศร้าโศกเเละสูญเสีย
จำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้าน
ภาวะลำไส้อุดกั้น (Bowel obstruction)
พยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดตันของลำไส้จากพังผืด (adhesions) การบิดของลำไส้ (volvulus) การตีบก้อนเนื้องอกหรือไส้เลื่อนโดยร้อยละ 77 ของสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะลำไส้อุดกั้นเนื่องจากการขยายของมดลูกจะมีผลต่อลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่และการดูดซึมสารอาหารของลำไส้ที่ลดลงไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามการบีบตัวของลำไส้ทำให้มีการตีบของลำไส้การบีบตัวของลำไส้อาจเพิ่มขึ้นได้กรณีที่มีการบีบตัวของอาหารย้อนกลับและพบมีการบวมตามร่างกายเนื่องจากภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยทร่วมกับมีการอักเสบของลำไส้
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก (constipation)
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียดปวดบิดเป็นพัก ๆ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายมีอาการปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่น WBC, electrolyte, X-Ray, MRI
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การอักเสบและติดเชื้อมดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนดภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัยท์
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้งคลอดก่อนกำหนดคลอด
น้ำหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขันทารกเสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ใส่สาย Nasogastric tube เพื่อการระบาย gastric content
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์โดยใส่เครื่อง EFM
ให้ออกซิเจน 4 Lit / min
พิจารณาการผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศ
ดูแลภาวะท้องผูก (constipation) ภายหลังการผ่าตัด
ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลำไส้อุดกั้นได้อีก (recurrent obstruction ในไตรมาสที่สาม
ติดตามและป้องกันภาวะลำไส้ตาย (bowel necrosis) ภายหลังการผ่าตัด
ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากมีภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่งมีเศษอุจจาระแข็ง ๆ เรียกว่า "นิ้วอุจจาระ" (fecalith) ชิ้นเล็ก ๆ ทำให้เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในรูไส้ติ่ง เกิดการเน่าตายและแตกทะลุ
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียนอาการปวด
อาการปวดตื้อ ๆ ตลอดเวลาหรืออาจปวดมากเป็นพัก ๆ อาจมีท้องผูก
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติตรวจร่างกายจากอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูง
การตรวจพิเศษเช่นการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แนวทางการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
หากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด Laparotomy
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้องเพื่อทำ appendectomy สำหรับสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drug) เพื่อป้องกันการหดรัดตัวของมดลูกก่อนกำหนดและคลอดก่อนกำหนด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การประเมินทางการพยาบาล
การชักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์การฟังเสียง FHR การบันทึกการดิ้นของทารกการตรวจ NST
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
พยาบาลให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการผ่าตัดเพื่อลดความกลัวเกี่ยวกับการสูญเสียบุตร
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ดูแลให้งดอาหารและน้ำทางปาก
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM (electro fetal monitor)
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
การพยาบาลขณะผ่าตัด
จัดท่าในการผ่าตัดหากเป็นไปได้ควรจัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อยถึงตะแคงซ้าย
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาและเตรียมให้ออกซิเจนทันทีระหว่างการผ่าตัดที่พบภาวะ fetal distress
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM ระหว่างการผ่าตัด
การดูแลหลังการผ่าตัด
ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ประเมินและบันทึก FHS โดยการติดเครื่อง EFM อย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis เช่น magnesium
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
ประเมินผู้ให้การดูแล (care giver) ตัวของสตรีตั้งครรภ์เพื่อให้รู้ในสิ่งที่จำเป็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวภายหลังการผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การช่วยฟื้นคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นแรก (First responder)
เริ่มทำการ chest Compressions วางมือไว้เหนือกระดูก sternum
จัดท่านอน supine
แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequent responders)
1 การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา (maternal interventions)
2.การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์ (Obstetric interventions)
3.การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น (BEAU-CHOPS)
Bleeding / DIC / accident
Placenta abruptio / previa
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Uteri tumor)
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการปวดท้องโดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายคลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์คลำท่าทารกได้ไม่ชัดเจน 2
การซักประวัติโดยเฉพาะประวัติทางนรีเวชมีเลือดออกทางช่องคลอดมีอาการปวดท้องที่ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
การตรวจพิเศษเช่นการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงการตรวจ MRI
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แท้งคลอดก่อนกำหนดรกลอกตัวก่อนกำหนดและอาการปวดท้องรุนแรงมากขึ้นนขณะตั้งครรภ์
ระยะคลอด
คลอดยากและมีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดีตกเลือดหลังคลอดและอาจได้รับการตัดมดลูกได้
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic myomectomy) ควรทำไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นำส่งตรวจพยาธิวิทยาเพื่อการวินิจฉัยต่อไป
หากก้อนยังใหญ่ไม่มากไม่มีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์และการตั้งครรภ์อาจพิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
:pencil2:
:explode:
:<3:
:star:
:smiley:
:recycle:
:!!:
:red_flag: