Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาในผู้สูงอาย(2) - Coggle Diagram
การใช้ยาในผู้สูงอาย(2)
กลุ่มยาที่ใช้บ่อย ผลข้างเคียงและอันตรายจากการใช้ยาในผู้สูงอายุ
(ช่องที่1)
1.ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
(เป็นยาที่ลดระดับความดันเลือดให้ต่ำลง จะโดยวิธีการขับปัสสาวะหรือการลดการทำงานของหัวใจ ซึ่งแพทย์มักให้ยาในผู้ที่ไม่สมารถควบคุมความดันเลือดให้อยู่ระดับที่ปกติได้และมักให้พร้อมกับคำแนะนำการปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร)
ตัวอย่างกลุ่มยา
2.HCTZ หรือ DCT (50 มิลลิกรัม) หรือ Moduratic มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ
3.Atenelol (50 มิลลิกรัม)
1.Enalapril (5 มิลลิกรัม หรือ 20 มิลลิกรัม)
ชนิดยาและผลข้างเคียง
ยาที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular drugs)
ยาลดความดันโลหิต เช่น ยาในกลุ่ม Thiazidesเป็นยาที่มักเลือกใช้เป็น
อันดับแรกในผู้สูงอายุ
อาจทำให้เกิด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
(Hypopotassemia)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
(Hypoglycemia)
ภาวะกรดยูริคในเลือดสูง
(Hyperuricemia รวมทั้งการได้รับยาลดความดันโลหิตอาจทำให้ผู้สูงอายุเกิด
อาการหน้ามืดเป็นลมเมื่เปลี่ยนอิริยาบถได้
(Postural hypotension)
2.ยารักษาโรคเบาหวาน
(ลดระดับน้ำตาลในเลือด โดยเพิ่มการดูดซึมน้ำตาลไปใช้ให้เกิดพลังงาน ไม่สะสมในกระแสเลือดมากเกินไป มีทั้งชนิดฉีดและรับประทาน)
ตัวอย่างกลุ่มยา
ชนิดรับประทาน
1.Glipizide (5 มิลลิกรัม)
2.Minidiab (5 มิลลิกรัม)
3.Glucophage (500 มิลลิกรัม)
ชนิดฉีด
เช่น Insulin
ชนิดยาและผลข้างเคียง
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
(Hypoglycemic agents)แผนการรักษา มักหลีกเลี่ยงการใช้ยาChlorpropamideเพราะยามีค่าครึ่งชีวิตนาน อาจทำให้เกิด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
(Hypoglycemia)
ค่าโซเดียมในเลือดต่ำ
(Hyponatremia) ยาที่เหมาะสมคือ กลุ่มSulfonylurea
ถ้าระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก มักได้รับยาฉีดอินซูลิน
ผลข้างเคียง
ที่อาจพบจากการใช้ยาคือ
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ อาจมีอาการใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น หน้ามืดคล้ายจะเป็นลมหมดสติได้
ข้อควรปฏิบัติ
ควรพกลูกอมหรือให้ดื่มน้ำหวานสักแก้วถ้าไม่ดีขึ้นหรือหมดสติควรพาไปพบแพทย์โดยด่วน
(ถ้าหมดสติห้ามให้อาหารและน้ำทางปากเพราะอาจสำลักได้)
3.ยารักษาโรคหัวใจ
(เพิ่มประสิทธิภาพหรือช่วยลดการทำงานของหัวใจทำให้หัวใจสามารถบีบตัวสูบฉีดเลือดไปเลี้ยฃร่างกายได้ดีขึ้น)
ตัวอย่างกลุ่มยา
1.Propanolol (50 มิลลิกรัม) 2.Isordil(10มิลลิกรัม)
3.Herbessor(30 มิลลิกรัมหรือ60 มิลลิกรัม)
ชนิดยาและผลข้างเคียง
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะโดยเฉพาะยาในกลุ่มCardiac glycosidesเช่นDigoxin ยาส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไตในรูปไม่เปลี่ยนแปลงการใช้ยาในผู้สูงอายุอาจทำให้เกิดพิษจากยาได้ง่ายโดยเฉพาะที่สำคัญคือหัวใจเต้นผิดจังหวะอาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้
อาจเกิดการเต้นของหัวใจผิดปกติ เช่น เต้นช้าไปหรือเต้นเร็วไปทำให้เกิดอาการเหนื่อยหอบ เจ็บแน่นหน้าอก อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ข้อควรปฏิบัติ
หากมียาอมใต้ลิ้นให้อมครั้งละ1 เม็ดถ้าไม่หายให้อมติดต่อกัน 3 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 5 นาที ถ้าไม่ดีขึ้นในระหว่างอมยาเม็ดที่ 2 ควรนำส่งแพทย์ทันที หากมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ควรนำส่งถึงมือแพทย์ไม่เกิน 2 ชั่วโมง
กลุ่มยาที่ใช้บ่อย ผลข้างเคียงและอันตรายจากการใช้ยาในผู้สูงอายุ
(ช่องที่2)
4.ยานอนหลับ
(Hypnotic drugs)
ผู้สูงอายุที่มีโรคเกี่ยวกับปอดควรหลีกเลี่ยงยานอนหลับ
ทุกตัวเพราะมีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง กดศูนย์การหายใจ ทำให้ผู้ป่วยหยุดหายใจ
ยากลุ่มBenzodiazepinesและBarbituratesในผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม Benzodiazepines ทำให้เกิดอาการสับสน ควรเลี่ยงไปใช้ยาในกลุ่มPhenothiazines ซึ่งใช้รักษาโรคจิต ประสาท
เนื่องจากผลข้างเคียงของยากลุ่มนี้จะทำให้ง่วง
หากมีการใช้ยากลุ่ม Barbiturates กับผู้สูงอายุทั่วไปในขนาดที่มากกว่าปกติจะกดการหายใจทำให้เสียชีวิตได้
ผู้สูงอายุที่มีการทำงานของตับบกพร่องควรใช้ยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลง โดยผ่าน phase I เช่น Temazepam
5.ยาระงับปวดและลดการอักเสบ
(Analgesic and Antiinflammatory drugs)
กลุ่มยาระงับปวดชนิดเสพติด
จะมีผลกดศูนย์การหายใจของผู้สูงอายุมากกว่าวัยผู้ใหญ่นอกจากนี้ยาระงับปวดลดอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หากใช้ในผู้สูงอายุจะเสี่ยงต่อการเกิดแผลในระบบทางเดินอาหารได้มากรวมทั้งเกิดพิษต่อตับผู้สูงอายุบ่อยขึ้น ทำให้เซลล์ตับเน่าตาย ตับอักเสบ มีพิษต่อไต ทำให้ไตวาย
ยาระงับปวดส่วนใหญ่ทั้งกลุ่มที่ไม่ใช่สเตียรอยด์และมีสเตียรอยด์
ถ้าใช้นานๆอาจเกิดภาวะกระดูกพรุน กระดูกหัก เลือดออกจากกระเพาะอาหาร โรคติดเชื้อรุนแรง รวมทั้ง สับสน ความจำเสื่อม
6.ยาต้านโรคจิตและยาต้านโรคเศร้า
(Antipsychotic and antidepressant drugs)
การใช้ยานานทำให้เกิด โรคพาร์คินสัน (Parkinsonism)ได้
การใช้ยาlithiumในผู้สูงอายุต้องระมัดระวังมาก เพราะอาจเกิดพิษต่อระบบประสาทซึ่งจะไม่ใช้ในผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตาย(Myocardial infarction)
จากหลอดเลือดอุดตัน
ผู้สูงอายุควรเลือกใช้ยาต้านโรคจิตกลุ่มฤทธิ์สูงในขนาดต่ำ เช่น Haloperidol เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดพิษและผลข้างเคียงจากยา
ยารักษาภาวะซึมเศร้าอาจเกิดผลข้างเคียงในผู้สูงอายุได้ง่ายกว่าวัยอื่น เช่น Postural hypotension ความจำเสื่อมเฉียบพลัน ยาที่พบบ่อย ได้แก่ Amitriptyline
7.ยาต้านจุลชีพ
(Antimicrobial
drugs)
ยากลุ่มนี้เมื่อบริหารเข้าสู่ร่างกายผู้สูงอายุอาจทำให้เกิดพิษและผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ได้ง่ายและรุนแรง โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่ถูกขับออกทางไตและทำให้เกิดพิษต่อไต เช่น กลุ่มอมิโนไกลโคไซด์ (Aminoglycoside)
ยาจะมีค่าครึ่งชีวิตนานขึ้นเป็น 2 เท่าเมื่อเทียบกับการบริหารยาแก่วัยผู้ใหญ่
ยาที่มีพิษต่อไตมากได้แก่ Gentamicin, Kanamycin
8.ยาแก้ปวดข้อ กระดูก กล้ามเนื้อ
ยา1.
Indocid
2.
Brufen
3.
Ibrufen
4.
Naproxen
ไม่ควรรับประทานเวลาท้องว่าง เพราะจะทำให้เป็นแผลในกระเพาะอาหาร