Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประกันคุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
ระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ประกันคุณภาพ
ความหมาย
กิจกรรมการบริหารคุณภาพ ทำให้เกิดความมั่นใจว่าจะบรรลุข้อกำหนดทางด้านคุณภาพ
การดำเนินการในลักษณะสร้างความเชื่อมั่นให้กับกระบวนการผลิต และบริการ
การกระทำที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า และอย่างมีระบบ
การสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า
ที่มาของระบบประกันคุณภาพ
เริ่มจากภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม
เน้นการควบคุมทางสถิติ
เป็นต้นแบบของ "ระบบประกันคุณภาพการศึกษา"
ทฤษฎีของเดมมิ่งวงจร PDCA
เกิดมาตรฐาน ISO (International Standard Organization)
ความหมาย
2.การกระทำใดที่สะท้อนถึงความมีคุณภาพ
3.การประเมินผล ติดตามและตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษา
1.กิจกรรมหรือปฏิบัติการของสถาบันการศึกษาที่ได้ดำเนินการตามแผนอย่างเป็นระบบตามที่กำหนดไว้
4.การมีระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินการดำเนินงาน
ความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ
ทำให้ผู้รับผิดชอบมุ่งบริหารจัดการศึกษาได้คุณภาพ และมีมาตรฐาน
ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่น่าเชื่อถือ
ประวัติการประกันคุณภาพการศึกษาของไทย
มีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน(สช.) ทำหน้าที่ออกใบรับรอง
จุดอ่อน โรงเรียนที่ได้ใบรับรองแล้ว ไม่มีการรักษามาตรฐานต่อ
พ.ศ. 2484 ครั้งแรกของการรับรองมาตรฐานการศึกษา เพราะ โรงเรียนเอกชน
พ.ศ.2531 กำหนดให้โรงเรียนเอกชนต้องมี การประเมินตนเอง และมีคณะกรรมการภายนอกเข้ามาประเมิน
สมัยก่อนจำนวนเด็กเยอะ จึงเน้นขยายจำนวนสถานศึกษา เพื่อให้เด็กมีโอกาสเข้าถึงการศึกษา ยังไม่มีการควบคุมคุณภาพการศึกษามากนัก
พ.ศ.2539 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติประชุม
พ.ศ.2540 มีการกำหนดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.2542 ยกร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 49 เกี่ยวกับระบบประกันภายนอก ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ(สมศ.)
มาตรา 50 เกี่ยวกับขอความร่วมมือสถานศึกษาเตรียมเอกสารการประเมิน รวมทั้งผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องให้ข้อมูลการปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษา
มาตรา 48 เกี่ยวกับระบบประกันภายในสถานศึกษา จัดทำรายงานประจำปี รายงานต้นสังกัด เพื่อพัฒนาคุณภาพ และรองรับประกันภายนอก
มาตรา 51 เกี่ยวกับในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกไม่ผ่าน
มาตรา 47 เกี่ยวกับให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายนอกและภายใน ระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ
วันที่ 6 สิงหาคม 2561 มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน 14 ประเด็น
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน 21 ประเด็น
ศูนย์การศึกษาพิเศษ 3 มาตรฐาน 15 ประเด็น
อาชีวศึกษา 3 มาตรฐาน 9 ประเด็น
หน้าที่และอำนาจของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ(สมศ.)
ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก
กำกับดูแลและกำหนดมาตรฐาน
พัฒนามาตรฐานและเกณฑ์สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก
พัฒนาและฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอก
พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก
เสนอรายงานการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประจำปี
องค์ประกอบของรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practices)
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
บริบทที่คล้ายคลึง
1.มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาในทุกด้าน
2.มาตรฐานการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้(ด้านความร่วมมือ)
บริบทที่แตกต่าง
1.มาตรฐานคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา ปวช. , ปวส. , หลักสูตระยะสั้น และหลักสูตรนอกระบบอื่นๆ
2.มาตรฐานการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้(ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย) ของ ปวช. , ปวส. , ป.ตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
แต่หลักสูตระยะสั้น และหลักสูตรนอกระบบอื่นๆ ไม่ใช่จุดเน้นของหลักสูตร