Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง หรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรร…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
หรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
Uteri tumor
2 ลักษณะ
เนื้องอกที่หนาตัวเป็นก้อน เรียกว่า Myoma
เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด เรียกว่า อะดิโนไมโอสิส
Myoma Uteri
ก้อนกลมๆ ช่วงตั้งครรภ์ การดำเนินของโรคจะเป็นได้ 3 รูปแบบ1)ขนาดเท่าเดิม 2)โตขึ้น 1 ใน 3 และ 3) เล็กลง 1 ใน 3
Adenomyosis
เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด เป็นภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเข้าไปใน
กล้ามเนื้อมดลูก แทรกอยู่ตามกล้ามเนื้อไม่เป็นผลดีต่อการตั้งครรภ์ เพราะการฝ่อจะทำให้ก้อนเนื้อกลายเป็นน้ำ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายคลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อกำหนด
แท้ง
ปวดท้องรุนแรง
ระยะคลอด
มีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
คลอดยาก
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ตัดมดลูก
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ ควรทำเมื่ออายุครรภ์12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัด
3.การตั้งครรภ์สามารถดำเนินต่อไปจนครบกำหนด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การประเมินทางการพยาบาล
กาซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินสุขภาพ การฟังเสียง FHR
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารก
ดูแลให้งดอาหาร
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
การพยาบาลขณะผ่าตัด
ท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อย กึ่งตะแคงซ้าย ระมัดระวังไม่ให้กดทับเส้นเลือด vena cava ทำให้ทารกขาดเลือดและออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM ระหว่างการผ่าตัด
การดูแลหลังการผ่าตัด
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
2.ประเมินและบันทึก FHS โดยการติดเครื่อง EFM
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis เช่น magnesium sulfate
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
ฝึกปฏิบัติอย่างใกล้ชิดและถูกต้องก่อนกลับบ้าน
รับประทานอาหารและการเผาผลาญที่อาจได้รับผลกระทบจากการผ่าตัด
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การนับลูกดิ้น อาการและอาการแสดงของการคลอดก่อนกำหนด
การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์
ชนิดของการบาดเจ็บ
บาดเจ็บทางร่างกายและทางเพศขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์ เช่น การเกิดรถชน มอเตอร์ไซด์ล้ม
ผลกระทบ
แท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก ทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บ ทารกตายในครรภ์
พยาธิวิทยา
head injury จะทำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดำ มีการเสียชีวิตของทารกในครรภ์
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์ พบการแตกหรือฉีกขาดของตับ ม้าม และไต
Abruptio placenta ภายในเวลา 48 ชม. หลังการบาดเจ็บ
Pelvic fracture อาจพบภ าว ะข อ ง bladder trauma พบว่าแตกหรือเคลื่อน
Uterine rupture เกิดการฉีกขาด หรือแตก ขณะได้รับบาดเจ็บ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการบาดเจ็บ
ประเมินระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ
Immediate care
คำนึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา
ประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์
ช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก
Minor trauma
Fetal activity หายหรือลดลง
พบ fetal cell ใน maternalcirculation
FHR เปลี่ยนแปลง
Hypovolemia
การช่วยฟื้นคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
First responder
แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
เริ่มทำการ chest compressions วางมือไว้เหนือกระดูก sternum
Subsequent responders
ดูแลและช่วยเหลือในการช็อคไฟฟ้า
ดูแลให้ได้รับชนิดยา ขนาด ปริมาณและวิถีทางที่ให้ยาให้ถูกต้อง
ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen ทางท่อทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับการติด Monitor waveform capnography
ดูแลและประเมินให้กระบวนการ CPR มีคุณภาพ
การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์
นวดหัวใจด้วยมือ
ตั้งเป้าหมายให้คลอดภายใน 5 นาที
ถอด internal และ external fetal monitors ออกก่อน
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น