Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 สุนทรียภาพทางดนตรี - Coggle Diagram
บทที่ 3
สุนทรียภาพทางดนตรี
องค์ประกอบดนตรี
เสียง (Tone) วัตถุเคลื่อนไหวในอากาศหรือวัตถุที่มีการเคลื่อนที่ไปใน
ช่วงเวลา เสียงดนตรีถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเลียนเสียงธรรมชาติโดยผ่านเครื่องมือ เรียกว่า เครื่องดนตรี
เสียงดนตรีมีองค์ประกอบ 4 ประการ
1) ระดับเสียง (Pitch) หมายถึง เสียงที่เกิดขึ้นจากความถี่ของเสียงจากการ
สั่นสะเทือนของวัตถุ
2) ความยาวของเสียง (Duration) หมายถึง ลักษณะของเสียงที่เกิดขึ้นจากการบรรเลงเครื่องดนตรี
3) ความเข้มของเสียง (Intensity) หมายถึง คุณสมบัติเสียงเครื่องดนตรีที่มีความ
ดัง-เบา
4) คุณภาพของเสียง (Tone quality) หมายถึง คุณสมบัติเครื่องดนตรีที่มีความแตกต่างในแหล่งกำเนิดของเสียง
เวลา (Time) หมายถึง การเคลื่อนที่ของเสียงไปในช่วงของเวลาเป็นการแบ่งหมวดหมู่ของจังหวะ
1) ความเร็วของจังหวะ (Tempo) เป็นส่วนที่บ่งบอกลักษณะความช้า-เร็วที่เกิดขึ้นภายในบทเพลง
2) อัตราจังหวะ (Meter) เปRนการจัดกลุ่มจังหวะของบทเพลง การรวมกลุ่มของจังหวะต่าง ๆ ในบทเพลงของดนตรีตะวันตกมีจังหวะที่ชัดเจนและแน่นอน
3) จังหวะ (Rhythm) หมายถึง การเน้นจังหวะของจำนวนจังหวะในห้องเพลง จังหวะเคาะ (Beats) หรืออื่น ๆ ที่แสดงความหมายที่เกี่ยวข้องกับจังหวะ
ทำนอง (Melody) หมายถึง การจัดเรียงของเสียงอย่างมีระบบ เกิดจากการนำเสียงสูงกลาง ต่ำ รวมถึงความสั้น – ยาวของเสียง มาเรียงกันตามแนวนอน
1) บันไดเสียงหรือกลุkมเสียง (Scales-mode) บันไดเสียงหรือกลุ่ม
2) จังหวะทำนอง (Melodic rhythm) เป็นส่วนทำให้เกิดความหลากหลายของทำนอง การนำความสั้น-ยาวของเสียงแต่ละเสียงมาประกอบกัน
3) มิติ (Melodic dimensions) มิติของทำนองประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ความยาว(Length)และช่วงกว้าง (Range)
4) ทิศทางการดำเนินทำนอง (Direction) ทำนองสามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง
5) เสียงประสาน (Harmony) หมายถึง การเคลื่อนที่ของเสียงตั้งแต่สองเสียง
6) พื้นผิว (Texture) เป็นส่วนที่แสดงลักษณะการวางเส้นเสียงทางดนตรีเปรียบเสมือน การทอผ้าจะต้องมีการวางเส้นด้ายทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน
1) โมโนโฟนิค (Monophonic texture) เป็นพื้นผิวเพลงเพียงทำนองเดียว ไม่มีแนวทำนองประสานใด ๆ
2) โฮโมโฟนิค (Homophonic texture) เปRนการประสานระหว่างทำนองกับคอร์ด โดยคอร์ดทำหน้าที่สนับสนุนแนวทำนอง
3) โพลีโฟนิค (Polyphonic texture) เป็นพื้นผิวที่มีลักษณะเฉพาะตัวของแนวทำนอง แต่ละแนว
4) เฮทเธอร์โรโฟนิค (Heterophonic texture) เป็นพื้นผิวของเพลงที่เกิดจากแนวทำนองหลักเพียงแนวทำนองเดียวที่สามารถทำให้เกิดแนวทำนองอื่น ๆ
คีตลักษณ:(Form) หมายถึงการแบ่งบทเพลงออกเป็นส่วน ๆ โดยใช้อักษรโรมันตัวใหญ่ในการแบ่งส่วน เช่น A B A หรือ A B
สีสัน (Tone Color) หมายถึงลักษณะเสียงของเครื่องดนตรีและเสียงมนุษย์
1) เสียงมนุษย์(Human voices)
-ผู้หญิงเสียงสูง อยู่ในกลุ่มเสียงโซปราโน
-ผู้หญิงเสียงต่ำ อยู่ในกลุ่มเสียงอัลโต
-ผู้ชายเสียงสูง อยู่ในกลุ่มเสียงเทนเนอร์
่-ผู้ชายเสียงต่ำอยู่ในกลุ่มเสียงเบส
2) เครื่องดนตรี (Musical instrument)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย (String Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมไม้ (Wood wind Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมทองเหลือง (Brass wind Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบ (Percussion Instruments)
วิวัฒนาการดนตรีไทย
ดนตรีสมัยสุโขทัย 1.วงบรรเลงพิณ 2.วงขับไม 3.วงปี่พาทย์ 4.วงมโหรี
สมัยกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ กระจับปี่ ขลุ่ย จะเข้ และ รำมะนามัย
สมัยกรุงธนบุรี เป็นสมัยแห่งการก่อร่างสร้างเมืองและการป้องกันประเทศเสียโดยมาก
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ศิลปวัฒนธรรมของชาติได้รับการฟื้นฟูทะนุบำรุง และส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นโดยเฉพาะ
ทางด้านดนตรีไทยได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้น
รัชกาลที่ 1 กลองทัด รัชกาลที่ 2 กลองสองหน้า รัชกาลที่ 3 ระนากทุ้ม ฆ้องวงเหล็ก รัชกาลที่ 4 ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก รัชกาลที่ 5 วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ รัชกาลที่ 6 อังกะลุง รัชกาลที่ 7 วงวังบูรพา วงวังบางขุนพรหม วงวังบางคอแหลม และวงวังปลายเนิน
ลักษณะดนตรีไทย และดนตรีพื้นบ้าน
เสียงของดนตรีไทย 1) การดำเนินทำนองเฉพาะเครื่องดนตรีแต่ละอย่าง 2) ทำนองที่เกิดจากความคิดของกวี 3) วิธีการนำเอาเพลงมาบรรเลง
จังหวะของดนตรีไทย 1)จังหวะสามัญ 2) จังหวะฉิ่ง 3). จังหวะหน้าทับ
ทำนองดนตรีไทย 1. ทำนองทางร้อง 2. ทำนองการบรรเลงหรือทางรับ
ทำนองของดนตรีไทย 1.เพลงหน้าพาทย์ 2.เพลงร้อง 3.เพลงละคร 4.เพลงเบ็ดเตล็ด 5.ลักษณะการขับร้องเพลงไทย 5.1)การร้องลำลอง 5.2)การร้องคลอ 5.3)การร้องส่งหรือการร้องรับ 5.4)การร้องเคล้า
ลักษณะการผสมวงดนตรีไทย ดนตรีไทยเกิดขึ้นจากการผสมวงที่เป็นเอกลักษณ์โดยการนำเอาเครื่องดนตรีหลายๆ ชิ้นมาผสมผสานเสียงจนสามารถรวมเป็นวงใหญ่คือ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี
ดนตรีพื้นบ้าน 1. วงดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ ประกอบด้วยวงกลองแอววงสะล้อซึง วงปี่จุม วงกลองมองเซิง วงกลองปูเจ่ 2. วงดนตรีพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยวงโปงลาง วงกันตรึม วงตุ้มโมง วงแคน 3. วงดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ประกอบด้วยวงกาหลอ วงปี่พาทย์ชาตรีวงรองเง็ง วงโต๊ะครึม วงดนตรีโนห์รา วงดนตรีหนังตะลุง วงดนตรีซีละ วงดนตรีมะโย่ง วงดนตรีลิเกป่า
ประวัติดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรีและเพลงตะวันตก
ประวัติดนตรีตะวันตก ด้วยดนตรีตะวันตกมีการพัฒนาตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาตามแนวความคิดของผู้ประพันธ์เพลง
1)ยุคกลาง (Middle Ages)ในช่วงเวลาระหว่างศตวรรษที่ 5-15 (ราว ค.ศ. 450-1400) หรือเรียกว่ายุคเมดิอีวัล (Medieval Period) 2) ยุคเรอเนซองส์ ช่วงคริสต์ศตวรรษที่15-16 (ราว ค.ศ. 1450-1600)การสอดประสาน(Polyphony) 3)ยุคบาโรก ระหว่างศตวรรษที่17-18 (ราว ค.ศ. 1600-1750)
4) ยุคคลาสสิค (Classical period)อยู่ในระหว่างศตวรรษที่ 18 และช่วงต้นศตวรรษที่ 19 (ค.ศ. 1750-1820) การใส่เสียงประสานเป็นลักษณะเด่นของยุคนี้ 5)ยุคโรแมนติด (Romantic period) ระหว่างคริสต'ศตวรรษที่ 19 (ราว ค.ศ. 1820-1900)ลักษณะเดนของดนตรี
6) ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค (Impressionistic Period หรือ Impressionism)
ระหวGาง ค.ศ. 1890 –1910ลักษณะสำคัญของเพลงยุคนี้คือใช้บันไดเสียงแบบเสียงเต็ม 7) ยุคศตวรรษที่20 (Contemporary Period) ดนตรีในยุคศตวรรษที่ 20 เป็นยุค
ของการทดลองสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ
ประเภทเครื่องดนตรีตะวันตก
เครื่องสาย (String Instruments) 1.1เครื่องสายประเภทใช้คันสี ประกอบด้วย ไวโอลิน (Violin) วิโอลา (Viola)
เชลโล (Cello) ดับเบิลเบส (Double Bass) 1.2) เครื่องสายประเภทเครื่องดีด (Plucked String) ประกอบด้วย ฮาร์พ (Harp) ลูท (Lute) กีตาร์ (Guitar) แมนโดลิน (Mandolin) แบนโจ (Banjo)
เครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) 2.1) เครื่องเป่าประเภทไม้มีลิ้น เครื่องเป่าประเภทนี้จะเป่าลมด้านข้าง ลำตัวมีลักษณะเป็นท่อ 2.2) เครื่องเป่าประเภทมีลิ้นเครื่องเป่าประเภทนี้จะเป่าลำตัวตั้งตรง
เครื่องเป่าประเภทโลหะหรือเครื่องลมทองเหลือง (Brass wind Instruments)เรียกรวมๆว่า กลุ่มแตร ส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่องดนตรีกลุ่ม คือ ท่อลมทำด้วยโลหะขนาด ต่าง ๆ กัน
เครื่องคีย์บอร์ด (Keyboard Instruments)มีลิ่มนิ้วสำหรับกด เพื่อปรับเปลี่ยนระดับเสียงดนตรี ลิ่มนิ้วสำหรับกดเรียกว่า คีย์ (Key)
เครื่องกระทบหรือเครื่องตีประกอบจังหวะ (Percussion Instruments) 1. เครื่องดนตรีมีระดับเสียงแน่นอน เครื่องดนตรีในกลุ่มนี้มีระดับเสียงสูงต่ำ 2. เครื่องดนตรีมีระดับเสียงไมGแนGนอน
วงดนตรีตะวันตก เพลงตะวันตก
1.วงแชมเบอร์มิวสิค (Chamber Music) 2.ออร์เคสตรา (Orchestra) 3.วงป๊อปปูล่ามิวสิค (Popular Music) 4.วงคอมโบ (Combo band) 5.วงสตริง (String Band) 6.วงแจ๊ส (Jazz) 7.วงโยธวาทิต (Military Band) 8.แตรวง (Brass Band)
บทเพลงบรรเลง 1) เพลงซิมโฟนี (Symphony) 2) คอนแชร:โต (Concerto) 3) โอเวอร์เจอร์ (Overture) 4) โซนาตา (Sonata) บทเพลงร้อง 1) เพลงศาสนา หรือดนตรีศาสนา (Church music หรือ Sacred music) 2) อุปรากร (Opera) บทเพลงทั่วไป 1) เพลงลีลาศ 2) เพลงชาวบ้าน 3) เพลงตะวันตก 4) เพลงกลkอมเด็ก (Lullaby) 5) เพลงเซเรเนด (Serenade) 6) เพลงพาเหรด (March) 7) เพลงแจ๊ส (Jazz)