Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง หรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรร…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
หรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
Appendicitis
สาเหตุ
ภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่ง
เกิดจากมีเศษอุจจาระแข็งๆ เรียกว่า fecalith
เกิดจากเนื้อเยื่อต่อมน้ำเหลือง
ขณะตั้งครรภ์โดยปกติก็มีระดับเม็ดเลือดขาวที่สูงขึ้นมากกว่าปกติ
อาการ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
มีไข้ 38.3 C
ท้องผูก กดเจ็บ ท้องแข็ง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และคลอดก่อกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบเม็ดเลือดขาวสูง
แนวทางการรักษา
วินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
หากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทำการผ่าตัด
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทำ appendectomy
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
tocolytic drug ป้องกันการหดรัดตัวของมดลูกก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
Acute Cholecystitis
สาเหตุ
ส่วนใหญ่มักเกิดจากการอุดกั้นของถุงน้ำดีการเกิดนิ่วในถุงน้ำดี และอาจเกิดภาวะ pancreatitis
มีการเพิ่มขนาดของมดลูก ซึ่งทำให้เกิดแรงดันและกดเบียดทำให้การไหลเวียนและระบายของถุงน้ำดีไม่ทำให้ muscle tone และความยืดหยุ่นในถุงน้ำดีลดลง
อาการ
ปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา (colicky pain)
คลื่นไส้อาเจียน
ภายหลังการรับประทานอาหารที่มีไขมัน มีไข้
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายพบ colicky sign และปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or
การตรวทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจความเข้มข้นของเลือด CBC พบมีการเพิ่มของ leukocyte
การตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น Radiographic diagnostic
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงอาจ พบมีการขยายของท่อน้ำดีมีการอุดกั้น
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
Analgesia; morphine
ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
Bowel obstruction
พยาธิสภาพ
เกิดจากการอุดตันของลำไส้จากพังผืด (adhesions) การบิดของลำไส้การอุดกั้นจะมีผลต่อการทำงานและการดูดซึมสารอาหารของลำไส้ที่ลดลง การไหลเวียนเลือดในร่างกายจะเพิ่มขึ้น มีการบวมตามร่างกายเนื่องจากภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยท์ร่วมกับมีการอักเสบของลำไส้
อาการ
ท้องผูก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพักๆ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีอาการปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น WBC, electrolyte, X-Ray, MRI
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ภาวะปริมาตรเลือดต่ำจากการเสียเลือด ช็อก
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัยท์
มดลูกหดรัดตัวก่อกำหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
เสียชีวิตในครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด คลอดน้ำหนักตัวน้อย
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ใส่สาย Nasogastric tube เพื่อการระบาย gastric content
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์ โดยใส่เครื่อง EFM
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
พิจารณาการผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศ
ดูแลภาวะท้องผูก
ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลำไส้อุดกั้น
ติดตามและป้องกันภาวะลำไส้ตาย
Ovarian tumor
สาเหตุ
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์ ติดเชื้ออื่นๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
พบว่ามีขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์
อาการ
ท้องมานน้ำ
คลอดยาก
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียความถี่สูง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
แท้ง
คลอดยาก
การรักษา
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์
หากวินิจฉัยล่าช้าและก้อนยังใหญ่ไม่มาก และการตั้งครรภ์ต่อไป
เป็นมะเร็งรังไข่ และมารดาต้องได้รับยาเคมีบำบัด ให้งด breastfeeding