Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม,…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่งอักเสบ(Appendicitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากมีภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่ง
ส่วนหนึ่งเกิดจากมีเศษอุจจาระแข็งๆ เรียกว่า "นิ่วอุจจาระ" (fecalith) ชิ้นเล็กๆ
ตกลงไปอุดกั้นอยู่ภายในรูของไส้ติ่ง
ทําให้เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในรูไส้ติ่งเกิดการเจริญรุกล้ําเข้าไปในผนังไส้ติ่ง
ทำให้เกิดการอักเสบ
การตั้งครรภ์เมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่สองมดลูกที่โตขึ้น จะทําให้การคลําหาตําแหน่งที่อักเสบได้ยากขึ้น
ทําให้การวินิจฉัยที่แน่นอนทําได้ยาก
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการปวดตื้อๆ ตลอดเวลาหรืออาจปวดมากเป็นพักๆ
อาการกดเจ็บ และท้องแข็ง
ไข้ อาจสูงถึง 38องศา
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด และคลอดก่อนกําหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย
เม็ดเลือดขาวสูง
CT scan
แนวทางการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
ากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทําการผ่าตัด laparotomy
appendectomy สําหรับสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่3
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
tocolytic drug
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
ขณะตั้งครรภ์มีการเพิ่มขนาดของมดลูก
ทําให้เกิดแรงดันและกดเบียดทําให้การไหลเวียนและระบายของถุงน้ำดี
ทําให้ muscle tone และความยืดหยุ่นในถุงน้ำดีลดลง
ทำให้มีการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน
การอักเสบของถุงน้ําดีเฉียบพลันพบได้บ่อยในมารดาที่มีอายุมาก
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องแบบcolicky pain
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
แท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
และคลอดก่อนกําหนด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายพบcolicky sign
ปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
มีการเพิ่มของ leukocyte
U/Aอาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
การรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดํา
Laparoscopic for cholecystectomy cholecystectomy
Nasogastric suctioning
ให้antispasmodics
ให้tocolytic therapy
ภาวะลําไส้อุดกั้น(Bowel obstruction)
พยาธิสภาพ
การอุดตันของลําไส้จากพังผืด การบิดของลำไส้
ในขณะที่สารอาหารในหลอดเลือดลดลง ลําไส้ที่มีการอุดกั้นจะบวม
การอุดกั้นจะมีผลต่อการทํางานและการดูดซึมสารอาหารของลําไส้ที่ลดล
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพักๆ
การวินิจฉัย
ปวดเมื่อคลําทางหน้าท้อง
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
WBC, electrolyte, X-Ray, MRI
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การอักเสบและติดเชื้อ
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกําหนด คลอดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
NPO
Nasogastric tube
IV fluid
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์ โดยใส่เครื่อง EFM
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian tumor)
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่โดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
ท้องมานน้ำ
คลอดยาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
ตรวจร่างกาย
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
คลอดก่อนกําหนด คลอดยาก
การรักษา
Laparoscopic
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจสอบทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Uteri tumor)
Adenomyosis
เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด
Myoma Uteri
Myoma ในช่วงตั้งครรภ์ การดําเนินของโรคจะเป็นได้ 3รูปแบบ
โตขึ้น 1ใน 3
เล็กลง 1ใน 3
ขนาดเท่าเดิม
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการ
ปวดท้องโดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
คลําพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
การซักประวัติ
ประวัติทางนรีเวชมีเลือดออกทางช่องคลอด
อาการปวดท้องที่ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แท้งคลอดก่อนกําหนดรกลอกตัวก่อนกําหนด
ระยะคลอด
คลอดยากและมีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
คลอดยากและมีโอกาสผ่าตัดคลอดคลอดทางหน้าท้อง
ตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
Laparoscopicmyomectomy
ควรทําเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นําส่งตรวจพยาธิวิทยา
พิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การประเมินทางการพยาบาล
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ซักประวัติ
การฟังเสียง FHR ทำNST
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
การพยาบาลขณะผ่าตัด
ควรจัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อย กึ่งตะแคงซ้าย
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดเครื่องEFM ระหว่างการผ่าตัด
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
NPO
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
On EFM
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
การดูแลหลังการผ่าตัด
เฝ้าระวังภาวะpreterm labor
ประเมินและบันทึกFHS
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
การพยาบาลเมื่อจําหน่ายกลับบ้าน
ประเมินผู้ให้การดูแล (care giver) ตัวของสตรีตั้งครรภ์
เพื่อให้รู้ในสิ่งที่จําเป็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวภายหลังการผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การดูแลแผลผ่าตัดการรับประทานอาหาร
การดูแลแผลผ่าตัดการรับประทานอาหาร
ชนิดของการบาดเจ็บที่พบระหว่างการตั้งครรภ์
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้น
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
การแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
คลอดก่อนกําหนด รกลอกตัวก่อนกําหนด
ทารกตายในครรภ์ ทารกตายคลอด
พยาธิวิทยา
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา
จะทําให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดํา
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์
กระทบกระเทือนของช่องท้องส่วนล่างและระบบอวัยวะสืบพันธุ์
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการบาดเจ็บ
Immediate care
การประเมินและวินิจฉัย การให้ยา และการช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพควรช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก
ทีมให้การพยาบาลต้องทําการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์
Minor trauma
Bleeding/vg., uterine irritability
Abdominal tenderness
Hypovolemia
FHR เปลี่ยนแปลง
Fetal activity หายหรือลดลง
Leakage of amnioticfluid
Major trauma
ช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs
ช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs
การช่วยฟื้นคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นแรก (First responder)
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
เริ่มทําการ chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequent responders)
การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา
Monitor waveform capnography
ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen
defibrillation
IV fluid
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
Embolism
Anesthetic complications
Bleeding/DIC/accident
Uterine atony
Cardiac diseas
Hypertension/preeclampsia/eclampsia