Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนรีเวชกรรมและศ…
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนรีเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่งอักเสบ(appendicitis)
สาเหตุและพยาธิสภาพ
ภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่ง จากเศษอุจจาระแข็งทำให้เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในรูไส้ติ่ง เจริญเข้าไปผนังไส้ติ่งและเกิดอักเสบ
เข้าสู่ไตรมาส2มดลูกโต คลำหาตำแหน่งที่อักเสบยากขึ้น
มดลูกกดเบียดลำไส้เล็กเลื่อนสูงขึ้นไปทางด้านหลังด้านขวา
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตื้อๆ มีไข้
ไส้ติ่งแตกทะลุทำให้เกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ ก้อนถุงหนอง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด , คลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เม็ดเลือดขาวสูง
ตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยความถี่สูง ,คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ,CT scan
ซักประวัติ ตรวจร่างกายจากอาการ/อาการแสดง
อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวด ท้องเสีย มีไข้ ท้องแข็ง
แนวทางการรักษา
ให้ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ป้องกันการหดรัดตัวของมดลูก
คลอดก่อนกำหนด
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง
ผ่าตัด appendectomy
ในไตรมาส3
หากไม่รุนแรง
ผ่าตัด laparotomy
ทำในไตรมาสที่1,2
การรักษานี้เสี่ยงเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ในไตรมาสที่ 3
ให้ยาปฏิชีวนะ
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบขณะท้องออกจากโรคอื่น
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystitis)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
ตรวจห้องปฏิบัติการ
มีการเพิ่ม leukocyte
U/A พบ WBC เพิ่มขึ้น
ตรวจพิเศษอื่นๆ
Radiographic diagostic
คลื่นเสียงความถี่สูงพบ ขยายของท่อน้ำดีมีการอุดกั้น/พบนิ่วในถุงน้ำดี
ตรวจร่างกาย
colicky pain ปวดมากบริเวณ right-upper quadrant
อาการและอาการแสดง
colicky pain
คลื่นไส้อาเจียนโดยเฉพาะภายหลังการรับประทานอาหารที่มีไขมัน
มีไข้
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
การรักษา
ดูแลให้สารดำทางหลอดเลือดดำ
ทำ laparoscopic for cholecystectomy
งดอาหารและน้ำ
ให้ใส่สาย nasogastric suctioning
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด,มอร์ฟิน
ให้ยาปฏิชีวนะ
ยาระงัยการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
ให้ยายับยั้งการหดรััดตัวของมดลูก
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เพิ่มขนาดของมดลูก
เกิดการกดเบียดการไหลเวียน/ระบายของถุงน้ำดี
มีการเพิ่มโปรเจสเตอโรนมีภาวะhypercholesterolemai
ภาวะลำไส้อุดกั้น (Bowel obstruction)
การวินิจฉัย
ซักประวัติเกี่ยวกับบอาการ/อาการแสดง
ตรวจร่างกาย : ปวดเหมือนคลำหน้าท้อว
ตรวจห้องปฏฏิบัติการ: WBC , electrolyte ,X-ray
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
อักเสบติดเชื้อ มดลูกรดหัดตัวก่อนกำหนด ภาวะไม้สมดุลของอิเล็กโตรลัยท์
ทารกในครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อย ภาวะคับขัน
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก ปวดเกร็งแน่นท้อง อาเจียน ปวดเสียดและปวดบิดเป็นพพักๆ
การรักษา
ติดตามการเต้นของหัวใจของทารกในครรภ์
ให้ออกซิเจน 4 lit/min
สารน้ำทางหลอดเลือดดำ , ยาปฏิชีวนะ
พิจารณาการผ่าตัดโดยกล้องจุลทรรศ
ดูแลภาวะท้องผูกหลังผ่าตัด
ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลำไส้อุดกั้นได้อีกในไตรมาสที่3
ให้ใส่สาย nasogastric tube
ป้องกันลำไส้ตายหลังผ่าตัด
งดน้ำ/อาหาร
สาเหตุ
เกิดการอุดตันของลำไส้จากพังผืด/บิดลำไส้
มีประวัติการผ่าตัดในช่องท้อง อุ้งเชิงกราน ผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง อักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
พยาธิสภาพ
อุดกั้นทำให้ดูดสารอาหารของลำไส้ลดลง
เลือดไหลเวียนมากขึ้น ลำไส้บวม
ในส่วนที่ไม่เคลื่่อนไหวตามการบีบตัวของลำไส้ ทำให้ตีบของลำไส้
การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์ (Trauma during pregnancy)
ชนิดของการบาดเจ็บ
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
การตายส่วนใหญ่
ภาวะช็อกจากการตกเลือด
การบาดเจ็บของศีรษะ
พยาธิสภาพ
การรับบาดเจ็บที่ศีรษะของมารดา
มีการฉีกขาาดของหลอดเลือดดำ
สาเหตุการตายของมารดา
การตกเลือดในช่องท้องและอวัยวะสืบพันธ์ุ
Pelvic fracture
พบในภาวะ bladder trauma, retroperitoneal bleeding, ข้อต่อบริเวณกระดูกเชิงกรานแตกหรือเคลื่อนได้
Uterine rupture เกิดการฉีกขาด/แตก
Abruptio placenta
ภายใน 48 hr.หลังการบาาดเจ็บ
พบการรอกตัวของทารก
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
แท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก เป็นต้น
การพยาบาล
Minor trauma
Major trauma
Immediate care
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Uteri tumor)
อาการและอากาารแสดง
อาการปวดสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
ภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ์
วินิจฉัย
ซักประวัติ: ประวัติทางนรีเวช มีเลือดออกทางช่องคลอด ปวดไม่สัมพันธ์กับการหดรัดจัวของมดลูก
ตรวจพิเศษ : คลื่นความถี่สูง ,MRI
ตรวจร่างกาย: คลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าอยู่ครรภ์/คลำท่ารกไม่ชัด
มี 2 ลักษณะ
Myoma Uteri
ก้อนของกล้ามเนื้อที่จับตัวเป็นก้อนกลมๆ
Adenomyosis
เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะคลอด
คลอดยาก มีโอกาสผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ระยะหลังคลอด
หดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี ตกเลือด
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด รกตัวก่อนกำหนด ปวดท้องรุนแรงมากขึ้น
การรักษา
ชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดให้นำส่งตรวจ
ก้อนไม่ใหญ่มากไม่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์พิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ เมื่ออายุครรภ์12-14W
ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian tumor)
วินิจฉัย
ตรวจพิเศษ: คลื่นเสียงความถี่สูง , MRI
ซักประวัติกับบอาการ/อาการแสดง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
แท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด คลอดยาก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูก/รังไข่ จะปวดสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
การรักษา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็งCA-125
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องร่วมกบนำก้อนเนื้อออก
ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมาเพื่อตรวจ
หากพบว่าเป็นมะเร็งรังไข่ ต้องได้รับยาบำบัด
ผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์
สาเหตุและพยาธิสภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum/ ovarian cyst/tumorที่โตขึ้น
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การพยาบาลขณะอยู่รพ.
ขณะผ่าตัด
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยติดเครื่อง EFM
จัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อยกึ่งตะแคงซ้าย
หลังผ่าตัด
เฝ้าระวังภาวะ preterm labor
ประเมินและบันทึก FHSโดยติดเครื่อง EFM
การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
ดูแลให้ได้รับยา tocolysis
ก่อนผ่าตัด
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการon EFM
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ประเมินหดรัดตัวของมดลูก
ให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ฟังFHSทุก1-2 hr.
ดูแลใส่สายสวนปัสสาวะ
งดอาหาร/น้ำทางปาก
การประเมินทางการพยาบาล
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ตรวจร่างกาย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ซักประวัติ
การพยาบาลเมื่อจำหน่ายกลับบ้าน
ประเมินผู้ให้การดูแลตัวของสตรีตั้งครรภ์
การช่วยฟื้นคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
หลักการปฏิบัติ
การตอบสนองขั้นต่อมา
ปฏิบัติพยาบาลทางสูติศาสตร์
นวดหัวใจด้วยมือ
เตรียมพร้อมเพื่อทำการผ่าตัดหน้าท้องคลอดฉุกเฉิน
คลอดภายใน 5นาทีนับจากเริ่มช่วยฟื้นคืนชีพ
การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา
ช็อคไฟฟ้า ได้รับยาถูกต้อง ให้ออกซิเจน
ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นแรก
บันทึกเวลาที่เรื่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
แจ้งmaternal cardiac arrest team
เริ่มทำ chest compressions