Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาล ผู้สูงอายุ, การกำหนดว่า…
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาล
ผู้สูงอายุ
นิยามความหมายผู้สูงอายุและประเภทผู้สูงอายุ
ความหมายผู้สูงอายุ
ที่ประชุมสมัชชาโลกว่าด้วยผู้สูงอายุ
ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปถือว่าเป็นผู้สูงอายุ
องค์การสหประชาชาติ UN
"ผู้สูงอายุ" คือ
ประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิงซึ่งมีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป โดยนับตั้งแต่อายุเกิด
สำหรับประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ มาตรา 3
บุคคลซึ่งมีอายุเกินกว่า 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย
ประเภทของผู้สูงอายุ
การสูงอายุตามวัย
การสูงอายุตามปีปฏิทินโดยการนับจากปีที่เกิดเป็นต้นไป
การสูงอายุตามสภาพร่างกาย
เป็นการพิจารณาการสูงอายุจากสภาพร่างกายและสรีระของบุคคลที่เปลี่ยนไป เมื่ออายุเพิ่มขึ้น
การสูงอายุตามสภาพจิตใจ
ตามที่ตนเองให้ความหมาย
การสูงอายุตามสภาพสังคม
เป็นการเปลี่ยนแปลงในบทบาทหน้าที่ สถานภาพของบุคคลในระบบสังคม
การเปลี่ยนแปลงโคลงสร้างประชากรสูงอายุหรือสังคมผู้สูงอายุและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสูงอายุหรือสังคมผู้สูงอายุ
ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปีมากกว่าร้อยละ 77 ของประชากรทั้งประเทศ
ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ( Aged Society) ประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปีมากกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ
ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged Society) ประชากร อายุ 60 ปีมากกว่าร้อยละ 30 หรือ อายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ
ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร
อัตราการเกิดลดลง
อัตราการเสียชีวิตลดลง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสูงอายุหรือสังคมผู้สูงอายุ
ผลผลิตรวมของประเทศลดลง
การออมและการลงทุนในระดับครัวเรือนลดลง
ผลิตภาพของแรงงานโดยเฉลี่ยลดลง
ประสบปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขเพิ่มสูงขึ้น
บทบาทพยาบาล ครอบครัวและสังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ
บทบาทผู้ดูแล
คือ สมาชิกในครอบครัวที่ให้ความช่วยเหลือ ดูแลสมาชิกในครอบครัว ซึ่งเจ็บป่วย พิการ หรือเจ็บป่วยเรื้อรัง ที่ไม่สามารถดูแลจัดการตนเองได้ โดยผู้ดูแลจะมีความสัมพันธ์กันแบบเครือญาติ และให้การดูแลโดยไม่ได้มุ่งหวังค่าตอบแทน
บทบาทของครอบครัวและสังคม
บทบาทการดูแลที่ตอบสนองความต้องการด้านอารมร์และจิตใจ
บทบาทการดูแลที่ตอบสนองความต้องการด้านเศรษฐกิจ การช่วยเหลือค่าใช้จ่ายภายในบ้าน
บทบาทในการดูแลที่ตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย เป็นการดูแลกิวัตรประจำวัน
บทบาทในการตอบสนองความต้องการด้านสังคม ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว
บทบาทของพยาบาลในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
บทบาทผู้ปฏิบัติ(implementer) ให้การพยาบาลผู้สูงอายุได้อย่างคลอบคลุม
บทบาทผู้ให้การศึกษา (educator) ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแล
บทบาทผู้บำบัดรักษา(healer)
บทบาทนักวิจัย(researcher) ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้
เป็นผู้ให้คำปรึกษา(consultant) ให้คำปรึกษาแก่บุคลากรอื่นทั้งในและนอกสถาบัน
ผู้สนับสนุน(advocate) ต้องเป็นผู้สนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับบริการและผลประโยชน์ต่างๆ ที่พึงได้
ผู้คิดค้นสิ่งใหม่(innovator) คิดค้นวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ เพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ
Stereotype หมายถึง ภาพรวมที่เรามองผู้สูงอายุ
ส่วนใหญ่ Stereotype สะท้อนถึงอคติต่อผู้สูงอายุเป็นลบ
ความเจ็บป่วยทางร่างกาย (Physical illness)
ความเจ็บป่วยทางจิตใจ (Mental illness)
การแยกตัว (Isolation)
เก็บกด (Depression)
ความจน (Poverty)
การสร้างผลผลิตให้สังคม (Contribution to society)
Prejudice หมายถึง ทัศนคติบนพื้นฐานของภาพรวมที่เราคิดที่จะมองผู้สูงอายุ
Myth หมายถึง ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ ซึ่งมีทั้งทางบวกและทางลบ
Discrimination หมายถึง การแบ่งแยกผู้สูงอายุ จากผู้คนปกติ
การกำหนดว่า ผู้สูงอายุเริ่มเมื่ออายุเท่าใด ขึ้นอยู่กับความแตกต่างกันในแต่ละสังคม
WHO
ผู้สูงอายุ(Elderly) อายุระหว่าง 60-74 ปี
คนชรา(Old) อายุระหว่าง 75-90 ปี
คนชรามาก(Very Old) มีอายุ 90 ปีขึ้นไป
American Nurse Association
กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง
กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้ดี
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย
วัยสูงอายุตอนต้น(Young Old) อายุ 60-69 ปี
วัยสูงอายุตอนกลาง(Medium Old) อายุ 70-79 ปี
วัยสูงอายุมาก(Old-Old) อายุ 80 ปีหรือมากกว่า
นางสาวเมธาวดี ลาสอน 621201147