Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
Health belief model : HBM
แนวคิด
การรับรู้ด้านพฤติกรรม
ก่อให้เกิดผลดี
หลีหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรค
Modifying factors
ปัจปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : บุคลิกภาพ ,กลุ่มเพื่อน
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค
การประยุกต์ใช้
ค้ค้นหาข้อมูลที่มีความเสี่ยง
ประเมิประเมินความเสี่ยง
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การประยุกต์ใช้
วิเคราะห์ผลเสีย
ให้ข้อมูลที่เป็นจริง
การรับรู้ประโยชน์ที่ได้รับและค่าใช้จ่าย
การประยุกต์ใช้
กำหนดพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติให้ชัดเจน
อธิอธิบายถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะเกิดจากการปฎิบัติกิจกรรม
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
การประยุกต์ใช้
จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการปฎิบัติ
ลดการรับรู้ลดการรับรู้ของการปฏิบัติโดยให้ความมั่นใจ แก้ไขข้อมูลและการจูงใจเพื่อให้การช่วยเหลือ
ปัจจัยร่วม
การประยุกต์ใช้
กระตุ้นให้ตระหนักรู้
ติดตามให้การช่วยเหลือ ให้กำลังใจ กระตุ้นเตือนและประเมินผล
PRECEDE-PROCEED Model
1 Social Assessment
เป็นการพิจารณาและวิเคราะห์คุณภาพชีวิต
ประเมินปัญหาทางด้านสังคมที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต
2 Epidemiological Assessment
วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ข้อมูลระบาดวิทยา
3 Behavioral Assessment
วิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
DNA
ภาวะเศรษฐกิจ
4 Educational Assessment)
Predisposing Factors
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรม
Enabling Factors
ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพและชีวภาพ
Reinforcing Factors
สิ่งที่คาดหวังว่าจะได้รับจากคนอื่น
5 Administrative and Policy Assessment
การจัดนโยบายการจัดโครงการเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
6 Implementation
การดำเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม
7 Process Evaluation
ประเมินปัจจัยทางด้านการบริหารและการจัดการ
8 Impact Evaluation
ผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินงานโครงการในระยะสั้น
9 Outcome Evaluation
ผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินงานโครงการในระยะยาว
Health Promotion Model : HPM
มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง
1 Individual
Characteristicsand Experiences
Prior related behavior
พฤติกรรมที่เคยปฏิ ปฏิบัติในอดีตมีอิทธิพลโดยตรงต่อการปฎิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
Personal Factors
ปัจจัยด้านชีวะวิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
2 Behavior-Specific Cognition and Affect
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติกิจกรรม Perceived Benefits of Action
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติกิจกรรม Perceived Barriers to Action
การรับรู้ความสามารถของตนเอง PerceivedSelf-Ef ficacy
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม Activity-Related Affect
อิทธิพลระหว่างบุคคล Interpersonal Influences
อิทธิพลจากสถานการณ์ Situational Influences
3 Behavioral Outcome
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม Commitment to a Plan of Actions
ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น
Immediate Competing Demands and Preferences
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ Health-Promoting Behavior
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
มี6ขั้นตอน
1 Pre-contemplation stage: ยังไม่สนใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2 Contemplation stage : คาดคะเนว่าจะเกิดปัญหา แต่ยังไม่คิดทำการเปลี่ยนแปลง
3 Preparation stage / Determination : คิดที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
4 Action stage: เชื่อมั่นในศักยภาพตนเองว่าสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
5 Maintenance: สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอ
6 Termination: ไม่มีอะไรที่สามารถโน้มน้าวเพื่อกลับไปทำพฤติกรรมเดิมได้อีก
Process of Change
1 consciousness raising
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
2 Dramatic relief
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
3 social reevaluation
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
4 self reevaluation
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ทอี่ ยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อ เลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพรอ้มที่จะปฏิบัติ(Preparationstage /Determination)
5 self liberation
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ (Action)
6 social liberation
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
7 counterconditioning
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
8 stimulus control
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
contingency management
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
10 helping relationship
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)