Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาพื้นฐานตะวันตก ตะวันออก - Coggle Diagram
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาพื้นฐานตะวันตก ตะวันออก
4.ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาไทย
ด้านอภิปรัชญา
ด้านจริยศาสตร์
ด้านสุนทรียศาสตร์
ด้านสังคม
ด้านสังคม
ด้านการเมือง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ทางสายกลาง
ปรัชญาอินเดีย
ยุคพระสูตร
ยุคที่มีการรวบรวมปรัชญาที่แฝงอยู่ในคัมภีร์พระเวทและมหากาพย์ให้อยู่ในรูปของพระสูตร
ยุคปรัชญาจารย์
เน้นที่การวิเคราะห์ ตีความคัมภีร์พระเวทและอุปนิษัทเป็นส่วนใหญ่
ยุคมหากาพย์
พระพุทธศาสนา และศาสนาเชนรุ่งโรจน์
ยุคพระเวท
พราหมณ์เป็นใหญ่
โดยมีคัมภีร์ไตรเภทเป็นหลัก
มุ่งเน้น
เป็นปรัชญาที่มุ่งแสวงหาความจริง และความหลุดพ้น
ที่มา
ปรัชญากลุ่มนาสติกะ
คัดค้านในความขลังและความศักดิ์สิทธิ์ของพระเวท
ปรัชญากลุ่มอาสติกะ
อมรับนับถือพระเวทในฐานะเป็นปรัชญาแม่บท
ปรัชญาจีน
ปรัชญาขงจือ
น้นจารีต ประเพณี ดนตรี และคุณธรรมที่ดีงามในอดีต
ปรัชญาม่อจือ
ดีตเป็นความผันผ่านไปแล้วก็ไม่อาจหวนกลับมาอีก
ปรัชญาเต๋าหรือเล่าจือ
ป็นบ่อเกิดของสรรพสิ่ง และเป็นจุดหมายสูงสุดของสรรพสิ่ง
ปรัชญานิตินิยม
อำนาจและกฎหมาย
ปรัชญาญี่ปุ่น
ฐานมิกาโต
ระบบการนับถือจักรพรรดิ
ฐานปุตสุโต
เป็นความภักดีต่อพระพุทธศาสนา
ฐานชินโต
ารกราบไหว้บูชา ธรรมชาติ บูชาบรรพบุรุษ
ผู้นำเปรียบเสมือนเทพเจ้า (Hero Worship)
1.ปรัชญา
ความหมายของปรัชญา
เชิงอรรถ
จัดหมวดหมู่ความรู้หรือระบบความรู้ในสาขาต่างๆ
ความคิดเห็นใดที่ยังพิสูจน์ไม่ได้
ตามรูปศัพท์
พระเจ้าวรวงเธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
ปรัชญา
ปร
ชญา
ไพทากอรัส
Philosophy
Philos
ความรัก
Sophia
ความรู้
สาขาของปรัชญา
อภิปรัชญา
ศึกษาเกี่ยวกับความจริง
กระบวนการที่ได้มาซึ่งความจริง
คุณวิทยา
จริยศาสตร์
ความดี
สุนทรียศาสตร์
ความงาม
ญาณวิทยา
ความรู้ที่เกิดจากการพิสูจน์แล้ว
การกำเนิดปรัชญา/ความเชื่อ ค่านิยม
สมัยกลาง
ผสมผสานปรัชญากับศาสนา
นักปรัชญาส่วนใหญ่เป็นนักบวช
สมัยใหม่
เรอเนเดส์คาร์ตส์
เกิดจากความสงสัย
ความสงสัยจึงมีอยู่
สมัยโบราณ
บิดาปรัชญาตะวันตกคือ ธาเลส
เกิดจากความประหลาดใจในเรื่องธรรมชาติ
จุดเริ่มต้นของปรัชญาตะวันตก
สมัยปัจจุบัน
เกิดจากการคัดค้านความจริงของปรัชญา
เน้นการคิดวิเคราะห์
ศึกษาเพื่อค้นหาจุดหมายของชีวิต
บ่อเกิดแห่งปรัชญา
ความแปลกใจ
ความสงสัย
3.ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญายุคดึกดำบรรพ์
ไม่เข้าใจธรรมชาติ
เชื่อเรื่องลี้ลับ
ปรัชญายุคกลาง
ค.ศ. 529 - 1500
ปรัชญาปิตาจารย์
ปรัชญาสมัยอิสราม
ปรัชญาอัสมาจารย์
ปรัชญาสมัยฟื้นฟู
ปรัชญายุคโบราณ
สมัยเริ่มต้น
อะแนกซิเมเนส
ปฐมธาตุคืออากาศ
ไพทากอรัส
จำนวนเลขสำคัญที่สุด
เลขเป็นนามธรรม
อะแนกซิมานเดอร์
ปฐมธาตุเป็นกลาง
ปฐมธาตุเป็นอนันต์
เฮราคลีตุส
ไฟเป็นแกนของทั้งปวง
ทุกอย่างไม่คงที่
ธาเรส
บิดาปรัชญาตะวันตก
น้ำคือปฐมธาตุ
พาร์มินิเดส
พัฒนาความคิดเกี่ยวกับภาวะ
สิ่งเป็นจริงมีลักษณะเป็นนิจจัง
สมัยรุ่งเรือง
โสเครติส
คนมีความรู้ไม่ทำผิด
พลาโต
โลกที่ปรากฏ
โลกความจริง
อริสโตเติล
ภาวะแท้จริงเป็นธรรมชาติ
คิดหาเหตุผล
โพรทากอรัส
ขัดกับศาสนา
คนเป็นผู้วัดทุกสิ่ง
ปรัชญาสมัยใหม่
ค.ศ. 1500 - 1800
บารุค เดอ สปิโนชา
จัดความรู้จากเลขาคณิต
เดวิด ฮิวล์
อเทวนิยม
จอห์น ล็อค
คุณภาพชั้นต้น
คุณภาพชั้นรอง
ฌอง ฌากส์ รุสโซ
เรอเน เดส์คาร์ตส์
นักเหตุผลนิยม
ศาสนา ศีลธรรม วิทยาศาสตร์ คาดเดาได้
อิมมานูเอล ค้านท์
ฟรานซิส เบคอน
วิธีการอุปนัย
วิธีการนิรนัย
ปรัชญาสมัยปัจจุบัน
ค.ศ.1800 - ปัจจุบัน
ระยะรื้อทิ้ง
ปรัชญาของชาร์ต
กล้าประเมินวิธีการ
กล้าลงมือทำ
กล้าเผชิญปัญหา
ระยะรื้อสร้างใหม่
ปรัชญาของเกิร์ท
ระยะกังขา
2.คุณค่าของปรัชญา
ด้านการศึกษา
ปรัชญาพื้นฐานตะวันตก
โทมัสนิยมใหม่
ประสบการณ์นิยม
สัจนิยม
อัตถิภาวะนิยม
จิตนิยม
ปรัชญาพื้นฐานตะวันออก
ศาสนา
หลักวิทยาศาสตร์
ด้านค่านิยม
การศึกษาเพื่อความรู้
การศึกษาเพื่อชีวิต
ด้านหลักความเชื่อ
ปัจจุบัน เชื่อเรื่องวิทยาศาสตร์
อดีตนับถือผี ความเชื่อไสยศาสตร์
ด้านความเป็นอยู่
การแต่งกาย
ปัจจุบัน พิถีพิถัน ฟุ่มเฟือย
การแต่งกายแบ่งแยกชนชั้น
อดีต การแต่งกายสุภาพ รัดกุม
ความสะดวกสบาย
มีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
เทคโนโลยีตะวันตกเข้ามามีบทบาท
ความสัมพันธ์
อดีต เคยเป็นครอบครัวใหญ่
ปัจจุบัน ความสัมพันธ์แบบผิวเผิน
ด้านการเมือง
ทุกคนมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
แนวคิด
วิทย์ วิศทเวทย์
เพื่อศึกษาจุดหมายปลายทางของชีวิต
สุเมธ เมธาวิทยกูล
ต้องการทราบว่าตนเองเกิดมามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร
กีรติ บุญเจื้อ
มองคำตอบที่เป็นไปไม่ได้
เก็บส่วนดีมาเป็นหลักยึดเหนี่ยวของตน
มองเห็นปัญหาที่คนมองไม่เห็น
สรุป
ทำให้มนุษย์เป็นมนุษย์ได้อย่างสมบูรณ์บนศักศรีแห่งสัญชาตญาณปัญญา
พัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ได้อย่างแท้จริง
5.เปรียบเทียบปรัชญาตะวันตกและตะวันออก
ลักษณะที่เหมือน
แสวงหาความจริง
อาศัยเหตุผล
เปลี่ยนตามบริบทสังคม
ลักษณะที่แตกต่าง
ตะวันตก
ความรู้จากภายในสู่ภายนอก
อาสัยความรู้ของคนใดคนหนึ่งเป็นฐานแล้วขยายต่อ
ความรู้หลักจากหมดความสงสัย
ความรู้ทำให้หลุดพ้นจากโลกียะ
ตะวันออก
ความรู้จากภายนอกสู่ภายใน
เป็นการรวมความคิดของหลายคนเข้าด้วยกัน
พยายามทำลายความสงสัย
ความรู้เกี่ยวกับโลกและชีวิต
คุณลักษณะของปัญหาเรื่องความจริงตามแนวปรัชญาตะวันออก
แสวงหาความจริง
เกี่ยวข้องกับศิลธรรม การพัฒนาจิตใจ
มองปรัชญาเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินชีวิต
คุณลักษณะของปัญหาเรื่องความจริงตามแนวปรัชญาตะวันตก
มุ่งค้นหาความจริง
ไม่ได้ปฏิบัติตนให้เข้าถึงความจริง
แยกกับศาสนา