Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม …
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
ไส้ติ่งอักเสบ(Appendicitis)
Analysis
ไส้ติ่งอักเสบเกิดจากมีภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่งเกิดขึ้นเองโดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่ส่วนหนึ่งเกิดจากมีเศษอุจจาระแข็งๆ เรียกว่า "นิ่วอุจจาระ" (fecalith) ทําให้เชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในรูไส้ติ่งเกิดการเจริญรุกล้ําเข้าไปในผนังไส้ติ่ง จนเกิดการอักเสบตามมา
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้
อาเจียน
ท้องแข็ง (guarding)
ท้องผูกหรือท้องเสีย
มีไข้สูง
ปวดท้องตื้อๆ
ผลกระทบ
มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์อาจส่งผลให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตามอาการที่แสดง
ตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การตรวจ CT scan
Lab
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูง
แนวทาการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรคไส้ติ่งอักเสบอักเสบขณะตั้งครรภ์ออกจากอาการของโรคอื่น
หากอาการไม่รุนแรงอาจพิจารณาทําการผ่าตัด laparotomy เพื่อทํา laparoscopic ซึ่งอายุครรภ์ที่เหมาะสมที่สามารถทําได้คือเมื่ออายุครรภ์อยู่ในไตรมาสที่หนึ่งและสอง
พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อทํา appendectomy สําหรับสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่3
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drug) เพื่อป้องกันการหดรัดตัวของมดลูกก่อนกําหนด และคลอดก่อนกําหนด
ถุงน้ําดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystitis)
Analysis
ขณะตั้งครรภ์มีการเพิ่มขนาดของมดลูก ซึ่งทําให้เกิดแรงดันและกดเบียดทําให้การไหลเวียนและระบายของถุงน้ําดีไม่ทําให้ muscle tone และความยืดหยุ่นในถุงน้ําดีลดลง มีการหนาตัวของท่อน้ําดี เมื่อมีการกดทับเป็นเวลานาน จะทําให้มีการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน ที่มีผลต่อภาวะhypercholesterolemia การอักเสบของถุงน้ําดีเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องที่เป็นพักๆสลับหนักและเบา (colicky pain)
คลื่นไส้อาเจียน
มีไข้
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์ ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
พบcolicky sign และปวดมากบริเวณ right-upper quadrant or epigastrium
Lab
ตรวจความเข้มข้นของเลือด CBC พบมีการเพิ่มของ leukocyte
ตรวจU/Aอาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
ตรวจพิเศษ
Radiographic diagnosticการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงอาจพบมีการขยายของท่อน้ําดีมีการอุดกั้น หรือพบนิ่วในถุงน้ําดี
ภาวะลําไส้อุดกั้น(Bowel obstruction)
Analysis
เกิดจากการอุดตันของลําไส้จากพังผืด (adhesions)การบิดของลําไส้ (volvulus) การตีบ ก้อนเนื้องอก หรือไส้เลื่อนการอุดกั้นจะมีผลต่อการทํางานและการดูดซึมสารอาหารของลําไส้ที่ลดลง การไหลเวียนเลือดในร่างกายจะเพิ่มขึ้น ในขณะที่สารอาหารในหลอดเลือดลดลง ลําไส้ที่มีการอุดกั้นจะบวม และมีการแข็งของเศษอาหารและอุจจาระในส่วนที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามการบีบตัวของลําไส้ ทําให้มีการตีบของลําไส้ การบีบตัวของลําไส้อาจเพิ่มขึ้นได้กรณีที่มีการบีบตัวของอาหารย้อนกลับและพบมีการบวมตามร่างกายเนื่องจากภาวะไม่สมดุลของสารน้ําและอิเลคโตรลัยท์ร่วมกับมีการอักเสบของลําไส้
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก (constipation) ถ่ายยาก ถ่ายลําบาก ถ่ายไม่ออก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพัก ๆ
ผลกระทบ
แม่
การอักเสบและติดเชื้อ
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ําและอิเล็กโตรลัยท์
ปัญหาเกี่ยวกับไต
ภาวะปริมาตรเลือดต่ําจากการเสียเลือด
ลูก
เสี่ยงต่อการเสียชีวิต
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ปวดเมื่อคลําทางหน้าท้อง
Lab
WBC, electrolyte, X-Ray, MRI
การซักประวัติ
เกี่ยวกับอาการและอากรแสดง
ถุงน้ํารังไข่ (Ovarian tumor)
Analysis
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์ นอกจากนี้ยังจะพบภาวะของovarian cyst /tumor ที่โตขึ้น ร่วมกับการติดเชื้ออื่นๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกได้ซึ่งมักพบว่ามีขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ โดยพบว่าก้อนเนื้อนั้นกลายเป็นมะเร็งรังไข่ได้ 1:25,000 รายของการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ปวดตรงปีกมดลูกและรังไข่โดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
ท้องมานน้ำ
คลอดยาก
ผลกระทบ
เสี่ยงต่อการแท้ง
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
dyatocia
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
ซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สู
MRI
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Uteri tumor)
Myoma Uteri
ก้อนของกล้ามเนื้อที่จับตัวเป็นก้อนกลมๆ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตามอายุ
Adenomyosis
เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด เป็นภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูก แทรกอยู่ตามกล้ามเนื้อ ทําให้หนาแต่ไม่ได้เป็นก้อนชัดเจนอาจเกิดการฝ่อของเนื้อ
อาการและอาการแสดง
ไม่ค่อยแสดงอาการ
ปวดท้องโดยอาการปวดจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
Lab
MRI
การซักประวัติ
ประวัติทางนรีเวช
เลือดออกทางช่องคลอด
การตรวจร่างกาย
ลําพบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
ผลกระทบ
ระยะตั้งครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกําหนด
รกลอกตัวก่อนกําหนด
อาการปวดท้องรุนแรงมากขึ้นนขณะตั้งครรภ์
ระยะคลอด
คลอดยาก
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกภายหลังคลอดไม่ดี
ตกเลือดหลังคลอด
อาจได้รับการตัดมดลูกได้
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
การประเมินทางการพยาบาล
การซําประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ การฟังเสียง FHR การบันทึกการดิ้นของทารกการตรวจNST
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลขณะอยู่โรงพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการผ่าตัด เพื่อลดความกลัวเกี่ยวกับการสูญเสียบุตร
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์มาก
ดูแลให้งดอาหารและน้ําทางปาก
ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM (electro fetal monitor)
เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
การพยาบาลขณะผ่าตัด
จัดท่าในการผ่าตัด หากเป็นไปได้ควรจัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อย กึ่งตะแคงซ้าย โดยระมัดระวังไม่ให้กดทับเส้นเลือด vena cavaทําให้ทารกขาดเลือดและออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา และเตรียมให้ออกซิเจนทันทีระหว่างการผ่าตัดที่พบภาวะ fetal distress
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่องEFM ระหว่างการผ่าตัดเพื่อประเมินเสียงหัวใจของทารกที่อาจเกิดภาวะ fetal distress ได้
การบาดเจ็บระหว่างการตั้งครรภ์(Trauma during pregnancy)
ชนิดของการบาดเจ็บ
อุบัติการณ์ของปัญหาความรุนแรงกับสตรีที่สูงขึ้น
อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์
ผลกระทบ
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การพยาบาล
Immediate care
การพยาบาลควรคํานึงถึงการตั้งครรภ์ร่วมกับการรักษา ตั้งแต่การประเมินและวินิจฉัย การให้ยา และการช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพควรช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก เนื่องจากหากสามารถช่วยชีวิตแม่ได้แล้ว จึงให้การดูแลทารกในครรภ์ต่อไป
ทีมให้การพยาบาลต้องทําการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ
Minor trauma
Bleeding/vg., uterine irritability
Abdominal tenderness, abdominal pain or cramps
Hypovolemia
FHR เปลี่ยนแปลง
Fetal activity หายหรือลดลง
Leakage of amnioticfluid
พบ fetal cell ใน maternalcirculation
การช่วยฟื้นคืนชีพในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น
การตอบสนองขั้นแรก (First responder)
แจ้ง maternal cardiac arrest team
บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
จัดท่านอน supine
เริ่มทําการ chest compressions
การตอบสนองขั้นต่อมา (Subsequent responders)
การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา (maternal interventions)
defibrillation ทันที
ดูแลให้ได้รับชนิดยา ขนาด ปริมาณและวิถีทางที่ให้ยาให้ถูกต้อง
ดูแลให้ได้รับ 100% oxygen ทางท่อทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับการติด Monitor waveform capnography
ดูแลและประเมินให้กระบวนการ CPR มีคุณภาพ
ให้ IV fluid เหนือ diaphargm
ประเมินภาวะ Hypovolemia และดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดํา