Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างเเละการเจริญเติบโตของพืชดอก, นายวิธวินท์ สระเเก้ว ม.5/6 เลขที่ 1 …
โครงสร้างเเละการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างการเจริญเติบโตของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
มีโซฟิลล์ (mesophyll)
แพลิเซดมีโซฟิลล์ (palisade mesophyll)
สปองจีมีโซฟิลล์ (spongy mesophyll)
วาสคิวลาร์บันเดิล
เอพิเดอร์มิส
เป็นเนื้อเยื่อผิว มีทั้งด้านบนและด้านล่าง ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียวหรือหลายชั้น ได้แก่ เซลล์ผิว เซลล์ขน หรือเปลี่ยนไปเป็นเซลล์คุม (guard cell)
โครงสร้างภายในของพืชดอก
ก้านใบ (Petiole หรือ Stalk)
หูใบ (Stipule)
ตัวใบหรือแผ่นใบ (Lamina หรือ Blade)
เนื้อเยื่อพืช
มี 2 ประเภท
เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue)
มี3ระบบ
ระบบเนื้อเยื่อพื้น (ground tissue system)
ระบบเนื้อเยื่อลำเลียง (vascular tissue system)
ระบบเนื้อเยื่อผิว (dermal tissue system)
หน้าที่สำคัญ
ไซเล็ม (xylem) ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุอาหารจากรากไปสู่ส่วนต่างๆของพืช
โฟลเอ็ม (phloem) ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารสารอินทรีย์จากใบไปส่วนต่างๆ
สเคอเรงคิมา (sclerenchyma) ช่วยพยุงและให้ความแข็งแรงให้กับพืช
คอลเลงคิมา (collenchyma) ช่วยเพิ่มความแข็งแรง
คอร์ก (cork) ป้องกันการระเหยของน้ำและเซลล์จะตายเมื่อโตเต็มที่
เอพิเดอร์มิส (epidermis) ป้องกันเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านใน
เนื้อเยื่อเจริญ(Meristematic tissue)
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (Lateral meristem)
Lateral meristem ที่พบบริเวณกลุ่มท่อลำเลียง เรียกVascular cambium
Lateral meristem ที่พบในชั้น cortex ของลำต้นและราก เรียกว่าCork cambium
ส่วนปลาย(Apical meristem)
เป็นการเจริญเติบโตเเบบปฐมภูมิ
ปลายรากApical root meristem)
ปลายยอด(Apical shoot meristem)
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (Intercalary meristem)
ส่วนประกอบ
มิดเดิลลาเมลลา(middle lamella)
เเผ่นกั้นเซลล์(cell plate)
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ(secondary cell wall, secondary wall)
ผนังเซลล์ปฐมภูมิ(primary cell wall , primary cell)
โครงสร้างการเจริญเติบโตของลำต้น
โครงสร้างภายในของลำต้นระยะที่มีการเติบโตปฐมภุมิ
คอร์เทกซ์
เอพิเตอร์มิส
สตีล
วาสคิวลาร์บันเดิล
พิธ
โครงสร้างภายในของลำต้นระยะที่มีการเติบโตทุติยภูมิ
โครงสร้างภายในของปลายยอดตัดตามยาว
ใบอ่อน(young leaf)
ใบเริ่มเกิดหรือเนื้อเยื่อกำเนิดใบ(leaf primordium)
เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด(apical shoot meristem)
ลำต้นอ่อน(young stem)
โครงสร้างการเจริญเติบโตของราก
โครงสร้างภายในของรากระยะที่มีการเติบโตปฐมภูมิ
สตีล (Stele) เป็นชั้นที่อยู่ถัดจากชั้น เอนโดเดอร์มิส
เพริไซเคิล (Pericycle) ชั้นนี้อยู่ด้านนอกสุดของสตีล เพริไซเคิล พบเฉพาะในรากเท่านั้น
มัดท่อลำเลียงหรือวาสคิวลาร์บันเดิล (Vascular bundle)
ฃประกอบด้วย
ไซเลมปฐมภูมิ
และ
โฟลเอ็มปฐมภูมิ
พิธ (Pith) เป็นส่วนใจกลางของราก หรืออาจเรียกว่า ไส้ในของราก
คอร์เทกซ์ (Cortex) อยู่ระหว่างชั้น เอพิเดอร์มิส และสตีล ทำหน้าที่สะสมน้ำและอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
เอนโดเดอร์มิส (Endodermis) เป็นเซลล์แถวเดียวกันเหมือนกับเอพิเดอร์มิส
เเถบแคสพาเรียนสตริป (Casparian strip) ควบคมทิศทางการลำเลียงน้ำทางด้านข้างจากเซลล์ขนราก
เอพิเดอร์มิส (Epidermis) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุดมีการเรียงตัวของเซลล์เพียงชั้นเดียว
โครงสร้างภายในของรากระยะที่มีการเติบโตทุติยภูมิ
1.)เป็นการเจริญเติบโตที่ทำให้ รากมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื่องจากมีการสร้างเนื้อเยื่อถาวรเพิ่มเติม จากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง คือ วาสคิวลาร์แคมเบียม (Vascular cambium) กับ คอร์กแคมเบียม (Cork cambium)
2.)โดยวาสคิวลาร์แคมเบียมเป็นเนื้อเยื่อที่แปลี่ยนสภาพมาเป็นเจริญที่อยู่ระหว่าง เนื้อเยื่อไซเล็มขั้นปฐมภูมิ และ โฟลเอ็มขั้นปฐมภูมิ
โครงสร้างภายในของราก
บริเวณการยืดตามยามของเซลล์ (Region of cell elongation)
การเเบ่งเซลล์ (Region of cell division)
หมวกราก (Root cap)
บริเวณเซลล์เจริญเติบโตเต็มที่ (Region of maturation)
นายวิธวินท์ สระเเก้ว ม.5/6 เลขที่ 1