Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีการสูงอายุ (Theories of aging), นางสาวเบญจพร…
หน่วยที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีการสูงอายุ
(Theories of aging)
ความหมาย
ความต่อเนื่องของเหตุการณ์ตั้งแต่อยู่ในตรรภ์ของมารดาจนถึงแก่ชีวิต
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ของมนุษย์และสัตว์
ความเสื่อม
ทฤษฎีกระบวนการชราของมนุษย์
ทฤษฎีทางชีววิทยา (Biological Theory)
1.1ทฤษฎีด้านพันธุกรรม (Genetic Theory)
ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolution theory) หรือ ทฤษฎีเซลล์ (Cell theory)
ความสูงอายุมีการปรับตัวตามวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมในเซลล์ (cellular genetic theory)
ยีนมีความผิดปกติ
ทฤษฎีสะสมความผิดพลาดของ Cell (Error Theory) หรือ ทฤษฎีโมเลกุล (Molecular Theory)
ribosome อาศัย RNA = m-RNA
ทฤษฎีการกลายพันธุ์ (Somatic Mutation Theory)
ได้รับรังสีที่มีการเปลี่ยนแปลงของDNA
ทฤษฎีนาฬิกาชีวิต (Biological clock) หรือ ทฤษฎีการถูกกำหนด (Programming Aging Theory)
อายุไขของคนถูกกำหนดไว้โดยรหัสพันธุกรรม
1.2ทฤษฎีอวัยวะ (Organ Theory)
ทฤษฎีระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (Neuroendocrine Theory)
วัยชรา ระบบประสาทจะลดลง
ทฤษฎีภูมิคุ้มกัน (Immunological Theory)
T cell B cell เป็นมะเร็ง ความดัน เบาหวาน
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and Tear Theory)
มีการใช้งานนานๆจะเสื่อม
1.3ทฤษฎีทางสรีวิทยา
(Physiological Theory
ทฤษฎีความเครียดและการปรับตัว (Stress Adaptation Theory)
เครียดทำให้ชราเร็ว
ทฤษฎีสะสมของเสีย (Waste Produce Accumulation)
Lipofuscin รควัตถุชรา โปรตีนกับไขมัน
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free Radical Theory)
วิตามิน A C Eไนอาซีน จัดสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีการเชื่อมไขว้ (Cross link Theory on cross link of collagen T.)
Fibrous protein = อีลาสตินและคอลลาเจน)
ทฤษฎีจิตวิทยา (Psychological Theory)
ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Personality Theory)
ภูมิหลังและการพัฒนาจิตใจของบุคคล
ทฤษฎีของเพค (Peck’s Theory)
Ego differentiation and work-role preoccupation
ตัวเองมีคุณค่าแต่บาทบาทลดลง
Body transcendence and body preoccupation
ยอมรับว่าถดถอย
Ego transcendence and Ego preoccupation
ยอมรับความตายรู้สึกหวาดวิตก
ทฤษฎีอิรัคสัน (Erikson’s Epigenetic Theory)
ไว้วางใจแย้งกับความสงสัยน้ำใจผู้อื่น วัยทารก-18เดือน
เป็นตัวเองแย้งกับละอายใจไม่แน่ใจ 18เดือน-3ปี
ความคิดริเริ่มแย้งกับความรู้สึกผิด 3-6ปี
เอาการเอางานแย้งกับมีปมด้อย 6-12ปี
อัตลักษณ์แห่งตนแย้งกับไม่เข้าใจตนเอง 12-20ปี
ร่วมมือร่วมใจแย้งกับเปล่าเปลี่ยว 20-40ปี
1 more item...
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา (Sociological Theory)
ทฤษฎีบทบาท (Role Theory)
ปรับบาทบาทลดสถานภาพ
ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Continuity Theory)
ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและแบบแผนชีวิต
ทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory)
สถานภาพทางสังคมลดลงแต่ยังต้องการอยู่
ทฤษฎีแยกตนเองหรือทฤษฎีการถอยห่าง (Disengagement Theory)
กระบวน การชรา บุคคล สภาพสังคม
แนวคิดพฤฒพลัง (Active Ageing)
ลักษณะ
มีสุขภาวะที่ดี
ไม่อยู่นิ่ง ทำกิจกรรมตลอดเวลา
มีความมั่นคงในชีวิต
กรอบแนวคิด
ปัจจัยตัดขวาง
เพศ วัฒนธรรม
ตัวกำหนด
ระบบบริการสุขภาพ ระบบบริการสังคม
ตัวกำหนดทางพฤติกรรม
ปัจจัย
สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม
จิตวิญญาณ
ชีววิทยา
สังคม
จิตวิทยา
แนวคิดผู้สูงอายุสุขภาพดี (Healthy Aging)
ความหมาย
ใช้ร่างกายด้านสรีรวิทยา จิตใจ สังคมได้เหมาะสม
แนวคิดการประสบความสำเร็จในวัยสูงอายุ (Successful Ageing)
คงสภาพความสามารของร่างกายและสติปัญญา
ทำงานอย่างต่อเนื่องกระตือรือร้น
หลีกเลี่ยงจากโรคและความพิการ
แนวคิดสูงอายุยังประโยชน์ (Productive Ageing)
ความหมาย
ทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการ
องค์ประกอบ
สิ่งแวดล้อม
สถานภาพ
ปัจเจกบุคคล
นโยบายสังคม
ผลลัพธ์
แนวคิดธนาคารสมอง (Brain bank)
นำผู้เกษียณอายุแล้วมาช่วยงาน
ดึงผู้มีความรู้มาใช้พัฒนาประเทศ
นางสาวเบญจพร สืบทอง 621201131