Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและ…
บทที่ 8
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystitis)
พยาธิสภาพและสาเหตุ
เกิดจากถุงน้ำดีได้รับอุบัติเหตุและเกิดการฉีกขาด สาเหตุจากนิ่วในถุงน้ำดี ถุงน้ำดีติดเชื้อแบคทีเรีย เนื้องอกของถุงน้ำดีหรือของท่อน้ำดี เกิดจากโรคไทฟอยด์
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา (colicky pain)
คลื่นไส้อาเจียน โดยเฉพาะหลังการทานอาหารที่มีไขมัน มีไข้
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
ซักประวัติอาการ
ตรวจเลือด CBC /ตราจสแกนตับและถุงน้ำดี HIDA Scan
การรักษา
การรักษาประคับประคองตามอาการ
การให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อรักษาการติดเชื้อ
การผ่าตัดถุงน้ำดีออกไป (Cholecystectomy)
การรักษาจะต้องใช้วิธีการส่องกล้องตรวจรักษาท่อทาง ดินน้ำดีและตับอ่อน (Endoscopic retrograde cholangiopancreatography-ERCP)
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Uteri tumor)
ชนิด
Myoma Uteri เนื้องอกที่หนาตัวเป็นก้อน อายุ 30 ปีขึ้นไป เป็นได้ 3 รูปแบบ 1)ขนาดเท่าเดิม 2)โตขึ้น 1 ใน 3 และ 3) เล็กลง ผลกระทบหรือไม่ขึ้นอยู่กับขนาด และตำแหน่งของ Myoma
Adenomyosis เนื้องอกที่หนาตัวโดยรวมทั้งหมด
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง
ภาวะเลือดออกขณะตั้งครรภ์
คลำท่าทารกได้ยาก
ขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจ MRI เป็นต้น
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์แท้ง คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะคลอดคลอดยาก
ระยะหลังคลอดตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic myomectomy)
ควรทำเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
นำส่งตรวจ ชิ้นเนื้อ
ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian tumor)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ โดยเฉพาะประวัติโรคทางนรีเวช
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง MRI
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด คลอดก่อนกำหนด และคลอดยาก (dystocia)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณปีกมดลูก มีภาวะท้องมานน้ำ และในระยะคลอดพบว่ามีการคลอดยาก
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ
มีการโตของ cystic corpus luteum ขณะตั้งครรภ์ ร่วมกับการติดเชื้ออื่นๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกซึ่งมักพบว่ามี ขนาดโตขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์
การรักษา
Laparoscopicอายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ ไม่ควรเกิน 18 สัปดาห์
ส่งชิ้นเนื้อ
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
รับยาเคมีบำบัด ให้งด breast feeding
ภาวะลำไส้อุดกั้น (Bowel obstruction)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ปวดเมื่อคลำทางหน้าท้อง
การซักประวัติ เช่น อาการปวดบิดท้องเป็นพัก ๆ ประวัติท้องผูก คลื่นไส้และอาเจียน เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น WBC, electrolyte, X-Ray, MRI เป็นต้น
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การอักเสบและติดเชื้อ มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรลัย
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดน้ำหนักตัวน้อย ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
อาการและอาการแสดง
ท้องผูก (constipation) ถ่ายยาก ถ่ายลำบาก ถ่ายไม่ออก
ปวดเกร็งแน่นท้อง
อาเจียน
ปวดเสียด ปวดบิดเป็นพัก ๆ
รักษา
ให้ยาปฏิชีวนะร่วมกับการใส่ NG tube
ผ่าตัด Lysis adhesion, bowel resection and end to end anastomosi
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากความผิดปกติของลำไส้ทาให้มีการบิดตัว (Volvulus) หรือ การมีพังผืดไปรัด ซึ่งมักพบในผู้ที่มีประวัติได้รับการผ่าตัดของลำไส้ มีก้อนเนื้อ (Mass, Polyp) หรือมะเร็ง (Carcinoma)
ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis)
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง,มีไข้ต่ำ ๆ ไส้ติ่งแตกมีอาการปวดบริเวณลิ้นปีหรือรอบๆสะดือ
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
การสะสมของอุจจาระในไส้ติ่ง
ไส้ติ่งมีการขดงอ
ผนังลำไส้บวม
การอุดตันลำไส้จากการยึดติดของลำไส้
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ WBC 10000-15000 ลบ.มม
พยาธิสภาพ
มีการอุดตันช่องภายในไส้ติ่ง และระบายออกไม่ได้
ความดันภายในช่องไส้ติ่งเพิ่มขึ้นและเกิดการยืดตัวของหลอดเลือดที่ผนังไส้ติ่ง
เกิดการขัดขวางการไหลเวียนเลือดที่มาเลี้ยงไส้ติ่ง และทำให้เลือดดำไหลกลับบไม่ดีนำไปสู่เลือดคั่ง
ทำให้แบคทีเรียภายในช่องไส้ติ่ง เข้าผนังจึงเกิดการอักเสบ
แนวทางการรักษา
ผ่าตัดโดย appendectomy ไตรมาสที่3
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษา